Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.1 ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
บทที่ 4.1 ความผิดปกติของการตั้งครรภ์
1.อาการแพ้ท้องอย่างรุนแรง (Hyperemesis gravidarum)
อาการและอาการแสดง
มีอาการแสดงของการขาดน้ำ
ลมหายใจมีกลิ่นอะซิโตน
น้ำหนักลดลงมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 5 เมื่อเทียบกับน้ำหนักตัวก่อนตั้งครรภ์
ตรวจพบ ketonuria
คลื่นไส้ อาเจียนรุนแรง ต่อเนื่องเป็นระยะเวลายาวนาน
บางรายอาจมีอาการแสดงของภาวะวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษ โดยการตรวจ U/S
การตรวจร่างกาย
การซักประวัติ
สาเหตุ
3.ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
สภาพจิตใจของสตรีตั้งครรภ์ไม่ปกติ
ผลของ H.Progesterone ทำให้กระเพาะอาหารเคลื่อนไหวช้าลง
ความไม่สมดุลของระดับฮอร์โมง
ระดับฮอร์โมนที่สร้างจากรก HCG & Estrogen เพิ่มขึ้น
ปัจจัยส่งเสริม
อายุน้อย ครรภ์แรก
การตั้งครรภ์แฝด ซึ่งรกใหญ่กว่าปกติ
ครรภ์ไข่ปลาอุก ซึ่งรกเจริญผิดปกติแต่ไม่มีตัวเด็ก
เคยมีประวัติ คลื่นไส้ อาเจียน ในขณะตั้งครรภ์ก่อน
มีประวัติการเจ็บป่วยทางจิต
เป็นสตรีที่มีลักษณะอารมณ์ตึงเครียดมาก่อน
ทารกมีความผิดปกติ เช่น trisomy 21 และ hydrops fetalis
การดูแลรักษา
หลังรับประทานอาการไม่ควรนอนทันที
ดูแลความสะอาดของปากและฟัน
แนะนำรับประทานอาหารแข็งย่อยง่าย
แนะนำการพักผ่อนอย่างเพียงพอวันละ 6-8 hr.
ให้ดื่มของอุ่นๆ ดื่มทันทีที่ตื่นนอน
ให้การดูแล่วยเหลือด้านจิตใจ
การพยาบาล
ดูแลรักษาความสะอาดของช่องปากและฟัน
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ
หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะกระตุ้นให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน เช่นกลิ่น
ดูแลให้ยาลดอาการคลื่นไส้อาเจียน ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ ืNPO อย่างน้อย 24-48 hr.
บันทึก I/O
เมื่ออาการดีขึ้น ให้เริ่มรับประทานอาหารมื้อละน้อยๆแต่บ่อยครั้ง
2.การตั้งครรภ์แฝด (Multiple pregnancy)
สาเหตุ
อายุและจำนวนครั้งของการคลอดบุตร
ภาวะทุพโภชนาการ
เชื้อชาติ (Race)
ยากระตุ้นการตกไข่ ได้แก่ Gonadotropin
กรรมพันธุ์ (Heredity)
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายและหน้าท้อง
คลำพบได้ Ballottement หรือคลำได้มทารกมากกว่าหนึ่งคน
ฟังเสียงหัวใจทารกได้ 2 แห่ง ต่างกันไม่น้อยกว่า 10 bpm
ขนาดมดลูกโตมากกว่าระยะของการขาดประจำเดือน
มีอาการบวมมากโดยเฉพาะที่ขา
น้ำหนักระหว่างตั้งครรภ์ เพิ่มสูงขึ้นมากกว่าปกติ
การตวจทางห้องปฏิบัติการ
โดยดูระดับฮอร์โมน estriol เบต้า HCG HPL สูงกว่าปกติ
การซักประวัติ
การตั้งครรภ์อายุมาก
มีประวัติครรภ์แฝดในครอบครัว
การตรวจพิเศษ
การดูแล
ระยะตั้งครรภ์
การทำงานและการพักผ่อน
การทำจิตใจให้สบาย ผ่อนคลาย
แนะนำการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็กตามแผนการรักษา
งดการมีเพศสัมมพันธุ์และการกระตุ้นน้ำนม
การให้สตรีตั้งครรภ์แฝดรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
การสังเกตอาการผิดปกติ
แนะนำให้มาฝากครรภ์ตั้งแต่เริ่มแรกของการตั้งครรภ์
ระยะคลอด
จัดให้นอนพักผ่อนบนเตียงในรายที่มีถุงน้ำคร่ำแตก
ให้ได้รับสารน้ำและสารอาหารทางหลอดเลือดดำ
ช่วยบรรเทาความเจ็บปวดโดยการผ่อนคลาย
เจาะเลือดหาหมู่เลือด เตรียมจองเลือด
ช่วยแพทย์ในการทำคลอดทางช่องคลอด
ระยะหลังคลอด
ประเมินภาะติดเชื้อ โดยสังเกต สี จำนวนของน้ำคาวปลา
การให้ธาตุเหล็กทดแทนปริมาณเลือดที่เสียไป
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
ช่วยเหลือให้มีการปรับตัวที่เหมาะสม
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
3.ทารกตายในครรภ์ (Fetal Death)
สาเหตุ
โรคติดเชื้อ
ภาวะผิดปกติของทารก
โรคที่เกิดร่วมกับการตั้งครรภ์
ความผิดปกติของโครโมโซม
โรคที่เกิดเนื่องจากการตั้งครรภ์
การได้รับอุบัติเหตุของหญิงตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
ประวัติ
มีเลือดหรือมีน้ำสีน้ำตาลออกทางช่องคลอด
น้ำหนักตัวลดลง
เด็กไม่ดิ้น
ตรวจหน้าท้อง
คลำตัวทารกไม่รู้ว่า ทารกดิ้นมากระทบมือ ฟัง FHS ไม่ได้
คลำศีรษะทารกจะรู้สึกนุ่มและสามารถบีบให้เล็กลงได้เนื่องจากกระดูกกระโหลกศีรษะเกยกัน
พบระดับยอดมดลูกอยู่ต่ำกว่าอายุครรภ์
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การถ่ายภาพรังสี (x-rey)
Spalding's sign
Deuel sign
กระดูกสันหลังโค้งงอมมากกว่าปกติหรือหักงอเป็นมุม
พบเงาแก๊สในหลอดเลือดใหญ่ (aorta vena cava)
ตรวจหาปริมาณของ estriol ในปัสสาวะ
การพยาบาล
ระยะก่อนคลอด
social support ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ให้ความรู้ในการบรรเทาความเจ็บปวดในระหว่างคลอด
ติดตาม CBC, Platelet count, PT, PTT และ Fibrinogen
ระยะคลอด
ให้การพยาบาลเหมือนกับการคลอดปกติ
ระยะหลังคลอด
ให้การพยาบาลโดยให้มีความสุขสบายทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและให้ความรู้ในการวางแผนคุมกำเนิด
4.การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
สาเหตุ
ความผิดปกติของทารกหรือรก
เคยมีประวัติคลอดก่อนกำหนดหรือแท้ง
การติดเชื้อของน้ำคร่ำ
ทารกเสีชีวิตในครรภ์
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
อาการ
มีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างสม่ำเสมอ
มีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายและการตรวจครรภ์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ U/S
การซักประวัติ
ประเมินอายุครรภ์
อาการเตือนของการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อประคับประคอง
งดการ PV
สอนเทคนิคการผ่อนคลายความเครียด
ดูแลให้ bed rest นอนตะแคงซ้าย
ดูแลให้ยายับยั้งการคลอดตามแผนการรักษา
ในระยะตั้งครรภ์
การผ่อนคลายความเครียด
การนอนหลับพักผ่อนอย่างน้อยวันละ 8 hr.
การจำกัดกิจกรรมและการออกกำลังกาย
การป้องกันการติดเชื้อไม่ควรงดตื่นน้ำและกลั้นปัสสาวะ
สังเกตอาการเจ็บครรภ์คลอด มาตรวจตามนัดทุกครั้ง
ไม่สามารถยับยั้งการคลอดก่อนกำหนดได้
ประเมิน U/C และ FHS ทุก 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมง
เตรียมทำคลอด
ให้ ampicillin
รายงานกุมารแพทย์เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพ เพื่อช่วยเหลือมทารก
5.ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์
อาการ
น้ำเดิน (MR) คือมีน้ำใสๆไหลออกทางช่องคลอด PV พบส่วนนำทารกโดยไม่พบถุงน้ำ
น้ำคร่ำรั่ว (ML) คือมีน้ำใสๆไหลออกทางช่องคลอด PV พบถุงน้ำยังมีอยู่
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การทดสอบรูปใบเฟิร์น (Fern test) เห็นผลึกรูปใบเฟิร์น
การทดสอบไนบลู (Nile' blue test) เซลล์จะติดสีแสด
Nitrazine paper test กระดาาเปลี่ยนสีจากเหลืองเป็นน้ำเงิน
การซักประวัติ
การพยาบาล
ระยะเฝ้าคลอด
Bed rest
Observe FHS
งดการ PV
ใส่ผ้าอนามัยเพื่อสังเกต จำนวน สี กลิ่นของน้ำคร่ำ
สังเกตอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ
ดูแลให้ dexamethasone ตามแผนการรักษา
ระยะคลอด
ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับยาเร่งคลอดตามแผนการรักษา
งดการ PV
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอด
ป้องกันการติดเชื้อ
ระยะหลังคลอด
ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ประคับประคองด้านจิตใจ
ป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด