Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.1 การตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง - Coggle Diagram
บทที่ 4.1 การตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง
หญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาความรุนแรงในครอบครัว
ผลกระทบ
ผลกระทบทางด้านจิตใจและอารมณ์
ผลกระทบทางด้านพฤติกรรม
ผลกระทบต่อตัวหญิงตั้งครรภ์ เกิดการบาดเจ็บจากการกระทําความรุนแรง
ผลกระทบทางด้านสังคม
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์ เกิดการแท้ง คลอดก่อนกําหนด
ปัจจัย
ปัจจัยด้านครอบครัว
ปัจจัยด้านสังคม ได้แก่ การสนับสนุนทางสังคม
ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ การศึกษา สภาพจิตใจ
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การ ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินพัฒนาการของการตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์อายุมาก
(elderly pregnancy)
ผลกระทบ
ต่อหญิงตั้งครรภ์
การแท้งบุตร
การเกิดโรคเบาหวาน ความดัน
การตั้งครรภ์แฝด
การคลอดก่อนกําหนด
ต่อทารกในครรภ์
ความเสี่ยงต่อความผิดปกติด้านโครโมโซม
ความพิการแต่กําเนิด
ทารกมีน้ําหนักตัวน้อย
ปัจจัย
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ค่าครองชีพ
ปัจจัยด้านการแพทย์ ความก้าวหน้าและความสําเร็จเกี่ยวกับเทคโนโลยี
ปัจจัยด้านสังคมประชากร
การพยาบาล
ในระยะคลอด
เฝ้าระวังภาวะคลอดติดขัด การชักนําการคลอดและเฝ้าระวังเป็นพิเศษในกรณีที่มีโรคร่วม เช่น PIH GDM
ในระยะหลังคลอด
ฝ้าระวังเป็นพิเศษในกรณีที่สตรีตั้งครรภ์มีโรคร่วมและให้การดูแลรักษาตามภาวะเหล่านั้น
วางแผนการตั้งครรภ์ครั้งต่อไปหรือการคุมกําเนิด โดยต้องพิจารณาจากน้ําหนัก เชื้อชาติ และโรคร่วมต่างๆ
ในระยะตั้งครรภ์
ได้รับการตรวจคัดกรองความผิดปกติของโครโมโซมของทารกในครรภ์ โดยได้รับการเจาะถุงน้ําคร่ําหรือการเจาะ ชิ้นเนื้อรก ได้รับการตรวจ U/S อย่างละเอียดในไตรมาสที่ 2
การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อตัวหญิงตั้งครรภ์
ด้านร่างกาย เช่น การติดเชื้อ การตกเลือด
ด้านจิตสังคม มารดารู้สึกเครียด วิตกกังวล
ผลกระทบต่อบุตร
การเสียชีวิตจากการทําแท้ง
มีปัญหาสัมพันธภาพระหว่างมารดาและบุตร
ผลกระทบต่อครอบครัว
ผลกระทบต่อสังคม
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การประเมินความรู้พื้นฐาน
การประเมินพัฒนาการของการตั้งครรภ์
การประเมินปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
ประเมินการสนับสนุนทางสังคม
ปัจจัย
ปัจจัยด้านสังคมประชากร ได้แก่ ปัจจัยด้าน อายุ อาชีพ รายได้
ปัจจัยด้านชีวภาพ เช่น มารดาที่มีโรคแทรกซ้อนในขณะตั้งครรภ์
ปัจจัยด้านจิตสังคม เช่น การตั้งครรภ์ที่เกิดขึ้นจากการถูกข่มขืน การตั้งครรภ์
ปัจจัยด้านพฤติกรรมการคุมกําเนิด
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ผลกระทบ
ผลกระทบทางจิตใจ
ผลกระทบทางการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม
ผลกระทบทางด้านร่างกาย
ผลกระทบต่อบุตร
แนวทางการดูแล
ระยะตั้งครรภ์
การมารับบริการฝากครรภ์ และเน้นการให้ข้อมูล การปรับบทบาทการเป็นมารดา ภาวะเสี่ยงในขณะตั้งครรภ์ ได้แก่ ภาวะโลหิตจาง ภาวะโภชนาการ การคลอดก่อนกําหนด โรคร่วมในขณะตั้งครรภ์ เช่น PIH
ระยะคลอด
ให้การพยาบาลในระยะรอคลอดเหมือนกับมารดารอคลอดในรายอื่น ยกเว้นในกรณีที่มารดามีโรคร่วมในขณะ ตั้งครรภ์ ให้ความสุขสบายทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
ระยะหลังคลอด
เน้นการปรับบทบาทในการเลี้ยงบุตร การคุมกําเนิด
ปัจจัย
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและเป็นประจำเดือนเร็วขึ้น
ทัศนคติและค่านิยมเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศเปลี่ยนไป
ปัจจัยด้านสังคมประชากร
การขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา
ด้านจิตสังคม
มารดาที่ใช้สารเสพติดในระหว่างการตั้งครรภ์
Fetal alcohol syndrome (FAS)
การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง
ตาแคบ, หนังตาตก,คางเล็ก ศีรษะเล็ก ตาเล็ก ศีรษะเล็ก หน้าเล็ก
ด้านการเจริญเติบโต
เมื่อคลอดออกมาก็เจริญเติบโตช้า
ทารกเจริญเติบโตช้าในขณะอยู่ในครรภ์
ระบบประสาท
กล้ามเนื้อเกร็งหรืออ่อนปวกเปียก
พัฒนาการช้า
ทารกจะมีอาการ ดูดนมไม่ดี
บุหรี่
ผลการสูบบุหรี่ต่อการตั้งครรภ์
คลอดก่อนกําหนด
แท้ง
ทารกในครรภ์ไม่เจริญเติบโต
อัตราการตั้งครรภ์ลดลงประมาณร้อยละ 50
nicotine และ caffeine
มารดาที่ดื่มกาแฟมากกว่า 7-8 แก้วต่อวัน จะพบอัตราของทารกแรกเกิดน้ําหนักน้อยกว่าปกติ การแท้ง การคลอดก่อนกําหนด และการตายคลอดเพิ่มขึ้น
มารดาที่สูบบุหรี่เป็นสาเหตุที่ทําให้ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)