Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
พัฒนาการเด็กตั้งแต่แรกเกิด
ช่วงอายุ 3 เดือน ชันคอ ยกศรีษะจากพืน้เมื่อนอนคว่ำทำเสียง อือ อา ในลำคอ
ช่วงอายุ 4 เดือน พลกิตะแคงตัวได้ หันตามเสียง กางมือออกแล้วกำของเล่นได้
ช่วงอายุ 6 เดือน นั่งทรงตัวได้นาน สนใจฟังคนพูด จ้องมองหน้า ร้องไห้เมื่อเห็นคนแปลกหน้า
ช่วงอายุ 12 เดือน เดินโดยช่วยจูงมือเด็กทั้ง 2 ข้าง ค้นหาของเล่นที่ซ่อนไว้ใต้ผ้าคลุมได้ ดื่มน้ำจากถ้วยแก้วหรือขันเล็กๆ ได้
ช่วง 15 เดือน คว่ำขวดเท เพื่อเอาขนมหรือของเล่นในขวด พูดคำที่มีความหมายได้อย่างน้อย 4 คำร่วมมือในการแต่งตัว
ช่วงอายุ 18 เดือน เดินข้าม หรือหลบหลกีสิ่งกดีขว้าง ชี้อวัยวะของร่างกายได้ 4 – 5 ส่วน เข้าไปเล่นใกล้ๆเด็กอื่นได้โดยต่าง คนต่างเล่น
ช่วงอายุ 2 ปี ชี้อวัยวะของร่างกายได้ 10 อย่าง บอก ได้เมื่อต้องการขับถ่าย กระโดด 2 ขา พร้อมกันอยู่กับที่โดยไม่ต้องช่วย
ช่วงอายุ 3 ปี เดินเขย่งปลายเท้าได้ 3 เมตร เลือกของที่ มีขนาดทใี่หญ่กว่าหรือเลก็กว่าได้ ถอดเสื้อผ้าเองได้
ช่วงอายุ 4 ปี กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าได้ 2-3 คร้ัง ใช้นิว้หัวแม่มือแตะได้ ชอบค้นหาและ เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ รอบ ๆ ตัว
ช่วงอายุ 5 ปี ก้มลงเก็บของที่พื้นขณะวิ่งได้ จับดินสอได้ด้วยท่าทางที่ถูกต้อง เล่าได้ว่าวันนี้ ท าอะไรมาบ้าง รู้จักยาวกว่าสั้นกว่า
กระดูกหัก
หมายถึง ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยก ออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง หรือมีเพียงบางส่วนติดกัน หรือเป็นเพียงแตกร้าว
ข้อเคลื่อน
หมายถึง ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่ หรือหลุดออกจากเบ้า ซึ่งการบาดเจ็บของข้อและกระดูกยังส่งผลให้ เนื้อเยื่อที่อยู่โดยรอบกระดูก หลอดเลือด น้้าเหลือง เส้นประสาทและ เส้นเอ็นได้รับอันตรายด้วย
กระดูกเด็กมีลักษณะแตกต่างจากผู้ใหญ่
แผ่นเติบโต (growth Plate) มีความอ่อนแอ กว่าเอ็น (tendon),เอ็นหุ้ม
เยื่อหุ้มกระดูก (periosteum) มีความแข็งแรงและสามารถสร้างกระดูกได้ดี กระดูกหักในเด็กจึงติดเร็ว
เยื่อบุโพรงกระดูก(endosteum) สามารถสร้างกระดูกได้มากและเร็ว เด็ก อายุยิ่งน้อยกระดูกยิ่งติดเร็ว
ปัญหาด้านการวินิจฉัยกระดูกหักในเด็กการตรวจร่างกายอาจไม่แน่ชัด หรือ เชื่อถือได้อยาก
การบวมของแขน ขาในเด็กจะเกิดขึ้นเร็วภายหลังมีกระดูกหักหรือ ข้อเคลื่อน แต่การบวมนี้ก็หายเร็ว
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน (ischemic changes) การ ไหลเวียนของเลือดบริเวณแขน ขา จากการใส่เฝือกหรือพันผ้าแน่น เกินไปต้องระมัดระวังและแก้ไขทันที เพราะอาจเกิด ภาวะ Volk man’s ischemic contractur
การเจริญเติบโตของเด็กเล็กเริ่มจากการทดแทนกระดูกอ่อนด้วย ศูนย์กระดูกปฐมภูมิ (primary ossification center) ต่อมาจะมีการ ทดแทนกระดูกอ่อนที่ส่วนปลายกระดูกเป็นศูนย์กระดูกทุติยภูมิ (ossification center secondary) ท้าให้กระดูกงอกตามยาว
สถิติกระดูกหักในเด็ก
อายุ ที่พบบ่อยอยู่ในช่วง 6 ถึง 8 ปี จ านวน 93 ราย 12 ถึง 15 ปี จ านวน 206 ราย อายุต ่ากว่า 4 ปี พบน้อย
เพศ พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิงประมาณ 7 ต่อ 3
สาเหตุที่พบบ่อยเกิดจากการหกล้มเป็นส่วนใหญ่ รองลงมาคือตกจากที่สูง และอุบัติเหตุในท้องถนน
ต้าแหน่งที่พบบ่อยที่สุดคือ กระดูกต้นแขนหัก รองลงมาคือกระดูกแขนท่อนปลาย ( both bone of forearm )
กระดูกหักพบมากทางซีกซ้ายมากกว่าทางซีกขวาถึง 3 ต่อ 2
การรักษาส่วนใหญ่รักษาโดยวิธี อนุรักษ์นิยม
สาเหตุ
มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุน้ามาก่อนมีแรง กระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชน ตกจากที่ สูง หรือจากการกระตุ้นทางอ้อม เช่น หกล้ม เอามือยันพื้น และอาจเกิดจากมีพยาธิสภาพของโรคที่ท้าให้กระดูกบาง หักแตกหักง่าย เช่น มะเร็งของกระดูก กระดูกอักเสบ
อาการและอาการแสดง
1.มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ 2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน 3.รอยจ้้าเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง 4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
กระดูกและข้อเคลื่อนในเด็กส่วนใหญ่รักษารักษาโดยไม่ผ่าตัด ยกเว้น
กระดูกมีแผลเปิด (open fracture) /กระดูกหักผ่านข้อ (displaceed intra articular fracture) - กระดูกหักในเด็กตามการแบ่งของ Salter ชนดิ Ш , ІV - กระดูกหักจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ(avulsion fracture) - กระดูกคอฟีเมอร์หักและเคลื่อน(displaced fracture neck of femur) - ข้อเคลื่อนที่มีชั้นกระดูกติดอยู่ในข้อ - ข้อเคลื่อนที่ไม่สามารถจัดเข้าที่ได้โดยไม่ผ่าตัด ซึ่งมักเป็นเวลานานกว่า 2 สัปดาห์ หรือมีเนื้อเยื่อขวางกั้น
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ ซักเกี่ยวกับเรื่องการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
การตรวจร่างกาย ตรวจเหมือนเดก็ทั่วไป และให้ความสนใจต่อส่วนที่ ได้รับภยันตรายให้มาก ต้องกระท าด้วยความนุ่มนวล เพราะเด็กจะเจ็บ
การตรวจพบทางรังสี มีความจ้าเป็นในการถ่ายภาพให้ถูกต้อง เป็นแนวทางในการรักษาและติดตามผลการรักษา
การรักษา
หลักการรักษา
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น 2. แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
เป้าหมานการรักษา
ในระยะแรกจะมุ่งลดความเจ็บปวด อาจช่วยได้โดยให้ยาลดปวด จัดให้กระดูกที่หักอยู่นิ่งๆ โดยใช้เฝือกดาม ไม้ดาม หรือผ้าพันยืด และ พยายามจัดกระดูกให้เข้าที่
จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูกให้มีแนวกระดูก (alignment) ที่ยอมรับได้จนกระดูกที่หักติดดี
ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
ให้อวัยวะนั้นกลับท างานได้เร็วที่สุด
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
เกิดขึ้นกับเด็ก มากที่สุด โดยเฉพาะในเด็กที่อายุต่ ากว่า 10 ปี ส่วนในทารกอาจเกิดจากการ คลอดติดไหล่
อาการและอาการแสดง
Pseudoparalysis /Crepitus /ปวด บวม ข้างที่เป็น /เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคอง ข้างที่เจ็บ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับลำตัว พันนาน 10-14 วัน ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก ในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ ข้อศอกงอ 90 องศา และพันแขนให้ติดกับล าตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าส าลี คล้อง แขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในทารกแรกเกิด มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ทา้คลอด สอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
ส่วนในเด็กโต อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอก กระแทกพื้นโดยตรงในรายที่กระดูกหักเคลื่อนออก จากกันมากๆควรตรึงแขนด้วย traction ตรึงไว้นาน ประมาณ 3 สัปดาห์ อาจท้า skin traction หรือ skeletal traction ก็ได้
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
เกิดจาก การหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกงอ
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
เป็นการเคลื่อนที่ของหวักระดูกเรเดียส ออกมาจากขอ้ radio- humeral ไม่หมด
กระดูกปลายแขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึง วัยรุ่น เกิดจากการกระทำทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
ต้าแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของ กระดูกต้นขา เด็กจะปวด บริเวณข้างที่หัก
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หกัได้รับ บาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
การเข้าเฝือกปูน
การจัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก /ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือกภายใน 24 ชั่วโมง ซึ่งประเมินได้จาก 5 PS หรือ 6P /ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง /การยกหรือเคลื่อนย้ายเด็กต้องระวังเฝือกหัก /ระมัดระวังไม่ให้เฝือกเปียกน้้า/แนะน้าเด็กและญาติในการดูแลเฝือก
การดึงกระดูก (Traction)
ชนิดของ Traction
Bryant’s traction ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper limb ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน
Dunlop’s tractionใช้กับเด็กในรายที่มี Displaced Supracondylar Fractur ที่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่ ( reduce )ได้
Skin traction ใช้ในรายที่มี facture shaft of femur
Russell’s traction ใช้ในเด็กโตที่มี Fracture shaft of femur หรือ fracture บริเวณ supracondyla region of femur
ผ่าตัดทำopen reduction internal fixation (ORIF)
เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว
การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
ด้านร่างกาย / ด้านจิตใจ
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย/ประเมินระดับความเจ็บปวด/ปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด /ประเมินการไหลเวียนของอวัยวะส่วนปลาย/จัดท่าเด็กโดยยกส่วนที่ท้าผ่าตัดให้สูงกว่าระดับหัวใจเพื่อลดอาการบวม และปวด/การทำแผล
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจาก การถูกจ้ากัดเคลื่อนไหว
ป้องกันและลดอาการข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบ/ป้องกันการเกิดแผลกดทับ/ลดอาการท้องผูก/ช่วยให้ปอดขยายตัวเต็มที/ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงการเกิด ภาวะแทรกซ้อนต่าง
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูก
ท้าความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือก/ประเมินอาการติดเชื้อ/ ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา/ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
การพยาบาลเพื่อลดความ เครียดวิตกกังวลเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจ/สร้างความมั่นใจ/ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
การพยาบาลเพื่อบรรเทาปวด
ประเมินระดับอาการปวดของผู้ป่วย /จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง / ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือskin traction พันแน่นเกินไปหรือไม่ / ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ / กรณีเด็กได้รับการผ่าตัด อาจมีการรัดโดยส าลีพันเฝือกบริเวณข้อศอก ข้อเข่า ควรคลาย ส าลีพันเฝือกให้ถึงผิวหนังเด็ก / ผู้ป่วยที่ได้รับการยึดด้วย Kirschner wire ผ่านผิวหนังออกมาข้าง นอกเพื่อสะดวกในการถอด ต้องหมั่นท าแผลจนกว่าจะถึงเวลาที่ถอด
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
Volkmann’ s ischemic contracture
สาเหตุ
ปลายกระดูกหักชิ้นบน เช่นในรายที่มีการเคลื่อนของกระดูกมาก /เลือดแข็งจับกันเป็นก้อน /งอพับข้อศอกมากเกินไป ในขณะที่บริเวณนั้นยังบวมอยู่ / จากการเขา้เฝือก เฝือกที่เข้าไว้ในระหว่างที่การบวมยังด าเนินอยู่เมื่อเกิด อาการบวมขึ้นขึ้นเต็มที่ แต่ เฝือกขยายออกไม่ได้ เฝือกจึงคับทำใหเ้ลือด ไหลเวียนไม่สะดวก
ระยะ
เริ่มเป็น มีบวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว /เจ็บและปวด/นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้ การบวมทำให้นิ้วแข็ง/สีของนิ้วจะขาวซีด หรืออาจจะเป็นสีคล้ำ แต่นิ้วยังคงอุ่นอยู่ /มีอาการชา /ชีพจร คล้ำไม่ได้ชัดหรือไม่ได้
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อ บวม ตึง แข็ง และมีสีคล้ำ
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว การหดตัวเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อ Pronator และ flexor ของแขน มือ และนิ้ว ทำให้มือและนิ้วหงิกงอ ใช้การไม่ได้
ป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุดขณะที่หักเกิดขึ้นใหม่/ อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือก/ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพัน ดว้ยผ้าพันธรรมดา
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ
มักคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อย ๆ ยุบลงไป การปล่อยให้มีภาวะคอเอียงอยู่นานจะส่งผลให้กะโหลก ศีรษะ ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศีรษะบิดเบี้ยว ไม่สมดุล
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ลักษณะของผู้ป่วย ซักประวัติ /ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch) /การยืดแบบให้เดก็หันศีรษะเอง (active streth)/การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis)
ผ่าตัด
ถ้ายืดกล้ามเนื้อที่หดสั้นไม่ได้ผลภายหลังอายุ 1 ปี ควรรับการรักษา โดยการผ่าตัด อายุที่เหมาะสม ในช่วงอายุ 1 – 4 ปี จะไดผ้ลดี โดย การผ่าตัด bipolar release ตัดปลายเอ็นยึดเกาะของกล้ามเนื้อด้าน คอทั้งสองปลาย หลังผ่าตัดอาจต้องใช้อุปกรณ์พยุงคอ และต้องยืด กล้ามเนื้อเพื่อให้คอตรงและป้องกันการกลับเป็นซ ้า
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
พยาธิสรีรภาพ
การเจริญผิดปกติของกระดูกสันหลัง การอัมพาตของกล้ามเนื้อท้า ให้กระดูกเจริญเติบโตน้อย ไม่เท่ากันทั้งสองข้าง ท้าให้ข้อคดงอ ขา ยาวไม่เท่ากัน ท้าให้ตัวเอียงและหลังคด กล้ามเนื้อหลังและหน้าท้อง ไม่สมดุลกันทั้งสองข้าง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : การผ่าตัด ความพิการของกระดูกสันหลัง
การตรวจร่างกาย : สังเกตความพิการ ส่วนสูง น้ำหนักตัว แนวลำตัว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอื่น ๆ : X-Ray
อาการและอาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน สะบักไม่อยู่ระดับเดียวกันคือไหล่ข้างหนึ่งสูงกว่าอีกข้าง /ทรวงอกเคลื่อนไหวจ ากัด มักหายใจตื้น หายใจลึกท าได้ยาก /พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวล าตัว ความจุในทรวงอก สองข้างไม่สมมาตรไม่เท่ากัน /กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออก จะฝ่อลีบและบาง /ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน /ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน/มีอาการปวดเมื่อหลังคดมาก ในเด็กอาจพบไม่บ่อย /เริ่มมีอาการเมื่ออายุน้อยยิ่งมีความพิการมาก กระดูกสันหลัง ส่วนเอวคดมีพยากรณ์โรคดีกว่ากระดูกสันหลังคด
การรักษา
แบบอนุรักษ์นิยม (Conservation) กายภาพบำบัด, บริหารร่างกาย
การผ่าตัด เป็นการรักษาสมดุลของลำตัว แก้ไขแนวตรงของร่างกาย รักษา ระดับไหล่และสะโพก
การพยาบาลบุคคลวัยเด็กที่มีภาวะสันหลังคด(Scoliosis)
ชนิด
ชนิดที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในเนื้อกระดูกสันหลัง (Non Structurial Scoliosis) พวกนี้จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูกสันหลังหรือโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง
ชนิดที่มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูกสันหลงั (structural Scoliosis) มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของกระดูกสันหลงั เนื้อเยื่อรอบ ๆ กระดูกสันหลัง
การวินิจฉัย
การซักประวัติถามเกี่ยวกับประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
การตรวจร่างกาย ได้แก่ การสังเกตความพิการหลัง แนวล าตัว ความสูง น้ าหนักตัว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอื่น ๆ ได้แก่ การถ่ายภาพเอกซเรยใ์น ท่ายืนตรงและด้านข้างตั้งแต่กระดูกทรวงอกถึงกระดูกก้นกบ
อาการและอาการแสดง
เมื่อให้ผู้ป่วยก้มตัวไปด้านหน้าจะมองเห็นตะโหงก (Hump) /ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด/พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวกลางตัว/กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา /ขอ้ศอกและขอบกระดูกเชิงกราน (Iliac Creast) ไม่อยู่ระดับเดียวกัน/ผปู้่วยเอียงตวัไปดา้นขา้ง ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน /สังเกตว่าใส่เสื้อผ้าไม่พอดี/เกิดอาการปวดเมื่อหลังคดมาก แต่ในเด็กพบอาการปวดไม่บ่อย
การรักษา
การรักษาแบบไม่ผ่าตัด คือการ ใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว (Brace)
การรักษาแบบผ่าตัด โดยการจัด กระดูกสันหลังโดยการใช้โลหะดามกระดูกสันหลัง จัดกระดูกสัน หลังให้เข้าที่ และ เชื่อมข้อกระดูกสันหลังให้ตรง โดยการโรย กระดูกให้เชื่อมกัน
การพยาบาล
แนะนำการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด/ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง/ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแผลกดทับ/แนะนำการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว/