Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตสังคม, นางสาว อรุณรัตน์ มัสแหละ…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตสังคม
ผู้ที่มีความวิตกกังวล/เครียด
ความเครียดความเครียดเป็นอารมณ์พื้นฐานปกติของมนุษย์ที่ต้องเผชิญในชีวิตประจ่าวัน ความเครียดนั้นสะสมเรื้อรัง ก็จะท่าให้เกิดอาการทางกายและทางจิตตามมา
ปฏิกิริยาตอบสนองทั้งด้านร่างกาย
1.ระยะเตือน (Alarm Reaction)
ระยะช็อก (Shock Phase) อาจใช้เวลาประมาณตั้งแต่ 1 นาทีถึง 24 ชั่วโมง
ระยะตอบสนองการช็อก (Counter Shock Phase) ร่างกายจะปรับตัวสู่สภาพเดิม
2.ระยะการต่อต้าน (Stage of Resistance)กลไกป้องกันตัวที่เหมาะสมและพยายามจ่ากัดสิ่งที่มากระตุ้นให้น้อยลง
3.ระยะหมดก่าลัง (Stage of Exhaustion) การปรับตัวในระยะการต่อต้านไม่สำเร็จ ร่างกายจะหมดแรงที่จะต่อสู้กับความเครียด เกิดภาวะอ่อนล้า เหนื่อยและหมดแรง
ปฏิกิริยาตอบสนองด้านจิตใจ
ยอมรับและเผชิญกับความเครียด (Fight)แก้ไขเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเครียด หรือแก้ไขปรับเปลี่ยนตนเอง
เรียนรู้ที่จะอยู่กับความเครียด (Coexistence) บุคคลจะเริ่มแสวงหาและเรียนรู้วิธีการใหม่ๆ อาจใช้กลไกทางจิตปรับตัว
หนีหรือเลี่ยง (Flight)อาจทำได้ด้วยการปฏิเสธ หันไปทำกิจกรรมอื่นๆ
ระดับของความเครียด (Level of Stress)
ความเครียดระดับต่่า (Mild Stress) ความเครียดชนิดนี้สิ้นสุดลงในระยะเวลาอันสั้น
ความเครียดระดับกลาง (Moderate Stress)
อาจใช้เวลาเป็นชั่วโมงจนกระทั่งเป็นวัน
ความเครียดระดับสูง (Severe Stress) จะแสดงอาการอยู่นานเป็นสัปดาห์ เป็น
เดือน เป็นปี
วิตกกังวล
คือ ความรู้สึกไม่สบาย สับสน กระวนกระวาย กระสับกระส่ายหรือตื่นตระหนกต่อสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตและเกรงว่าจะเกิดอันตราย
ประเภท
ปกติ
(Normal anxiety) เป็นความวิตกกังวลที่พบได้ทั่วไปเป็นแรงผลักดันให้ชีวิตประสบความสำเร็จ
เฉียบพลัน
(Acute anxiety)ความวิตกกังวลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่มี เหตุการณ์เข้ามากระทบหรือคุกคามจะไปกระตุ้นการท่างานประสาทซิมพาเธติค เรียกว่า “สู้หรือหนี”
เรื้อรัง
(Chronic anxiety) ความรู้สึกหวาดหวั่นไม่เป็นสุข ขาดความ
มั่นคงปลอดภัยที่แฝงอยู่ในตัวของบุคคลตลอดเวลา
ระดับของความวิตกกังวล
ต่ำ
(Mild Anxiety) ที่เกิดขึ้นเป็นปกติในบุคคล ทั่วไป
ปานกลาง
(Moderate Anxiety)การรับรู้แคบลง ความสนใจมีจำกัด ยังคงใช้กระบวนการแก้ปัญหาได้แต่ต้องควบคุมสมาธิมากขึ้น
รุนแรง
(Severe Anxiety) ระดับสติสัมปชัญญะลดลง หมกมุ่นครุ่นคิดในรายละเอียดปลีกย่อย ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม มีอาการย้ำคิดย้ำทำ
รุนแรงสูงสุด
(Panic Anxiety) มีการสะสมความวิตกกังวลเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนบุคคลไม่สามารถจะทนต่อไปได้ มีความผิดปกติของความคิด มีภาวะขาดสติสัมปชัญญะ
การพยาบาล
ระดับต่ำ : - การยอมรับการแสดงออกของผู้รับบริการ
-การฝึกการผ่อนคลาย เช่น การฝึกการหายใจเข้าออกลึกๆ
-การฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
-การใช้รูปแบบการเผชิญปัญหา
-การให้ยาลดความวิตกกังวล ตามการรักษาของแพทย์
ระดับปานกลาง : -ยอมรับและท่าความเข้าใจในพฤติกรรมของผู้ปุวย และไม่กล่าวต่าหนิผู้ป่วย
-ควรพยายามให้ผู้ปุวยใช้ความคิด และตัดสินใจง่ายๆ ไม่ซับซ้อน ใช้เวลาสั้น
-ควรเอาใจใส่ดูแล และอยู่เป็นเพื่อนผู้ป่วย
-ให้ผู้ป่วยสุขภาพอนามัยของตนเอง
ระดับรุนแรงสุดขีด : -อยู่เป็นเพื่อนผู้ป่วยและยอมรับพฤติกรรมผู้ป่วย
-พูดด้วยประโยคสั้นๆ เข้าใจง่าย
-ดูแลให้ได้รับความปลอดภัย
-ดูแลให้ได้รับสารอาหารที่เพียงพอ
ผู้ที่ประสบภาวะสูญเสีย เศร้าโศก
ประเภทของการสูญเสีย
การสูญเสียบุคคลส่าคัญของชีวิต
การสูญเสียความสมบูรณ์ทางสรีระ จิตใจและสังคม
การสูญเสียสมบัติหรือความเป็นเจ้าของ เป็นการสูญเสียสิ่งของต่างๆ
ปฎิกิริยาที่เกิดขึ้นต่อการสูนเสีย
ปฏิเสธ (Denial) เมื่อเกิดการสูญเสีย ไม่ยอมรับสิ่งที่เกิดขึ้น
โกรธ (Anger) พยายามโทษว่าเป็นความผิดของ
คนใดคนหนึ่ง โทษตัวเอง บุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือสิ่งแวดล้อม
ต่อรอง (Bargaining) หวังว่าจะมีทางเลือก
ซึมเศร้า (Depression) เมื่อมีการตระหนักถึงความสูญเสีย
ยอมรับ (Acceptance) เมื่อสามารถจัดการกับปัญหาได้
สภาพการณ์ที่บุคคลต้องแยกจากสูญหาย หรือต้องปราศจากบางสิ่ง
บางอย่างที่เคยมีอยู่ในชีวิต อาจเกิดขึ้นทันทีทันใด หรือค่อยเป็นค่อยไป
กระบวนการเศร้าโศกปกติ (Normal Grief Response)
ระยะแรก (ระยะเฉียบพลัน) มักอยู่ในช่วง 4-8 สัปดาห์แรกจะแสดงอาการช็อกและไม่เชื่อ ไม่สามารถยอมรับการสูญเสียได้
ระยะที่สอง (ระยะเผชิญกับการสูญเสีย)ภายหลังจากผ่านช่วงวิกฤติไปแล้วใช้เวลาประมาณ 1-2 ปี ความรู้สึกผิดปกติทางกาย ล่าคอตีบตัน หมดแรง อ่อนเปลี้ย ตัวชา หน้ามืด บางรายอาจรุนแรงเกิดอาการแปลภาพผิด หรือประสาทหลอน
การพยาบาล
1.สร้างเสริมความสัมพันธ์ที่เชื่อถือไว้วางใจ
2.ให้ผู้ป่วยระบายอารมณ์
3.ให้ก่าลังใจ
4.สนับสนุนวิธีการเผชิญปัญหาที่เหมาะสม
5.เพิ่มความรู้สึกมีหวังในชีวิตแม้จะต้องสูญเสียบางสิ่งไป
ส่งเสริมการสร้างศรัทธา
7.จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบ่าบัด
8.ป้องกันการเกิดปฏิกิริยาที่เศร้าโศกผิดปกติ
นางสาว อรุณรัตน์ มัสแหละ เลขที่ 82