Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดเชื้อเขตร้อน - Coggle Diagram
โรคติดเชื้อเขตร้อน
โรคกาฬโรค
(plague)
เชื้อก่อโรค
มีสาเหตุมาจากแบคทีเรีย ที่ชื่อว่า เยอร์ซีเนีย เพสติส (Yersinia Pestis)
โดยแบคทีเรียชนิดนี้มักจะอาศัยอยู่ในสัตว์ฟันแทะที่มีขนาดเล็กเช่น หนูและกระรอก
อาการ
แบ่งเป็น 3 ชนิดตามลักษณะอาการ
- กาฬโรคต่อมน้ำเหลือง (Bubonic Plague) อาการปวดศีรษะ อ่อนเพลีย และมีต่อมน้ำเหลืองบวม
กาฬโรคปอด (Pneumonic Plague) มีไข้ อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียนและทําให้ปอดดบวมอย่างรวดเร็ว
กาฬโรคแบบโลหิตเป็นพิษ หรือ ติดเชื้อในกระแสเลือด (Septicemic Plague) ผู้ป่วยจะมีอาการ ไข้ หนาวสั่น
อ่อนเพลียอย่างรุนแรง ช็อก ปวดท้อง ท้องเสีย อาเจียนมีเลือดออกที่ผิวหนังและอวัยวะอื่นๆในร่างกาย
-
-
การป้องกัน
กําจัดหนู หรือ สัตว์ที่ใช้ฟันแทะ สวมถุงมือเมื่อต้องจับสัตว์ที่สงสัยว่า อาจมีเชื้อกาฬโรค ไม่ควรนอนกับสัตว์ที่เลี้ยงแบบปล่อย
โรคไทฟอยด์
(Typhoid)
เชื้อก่อโรค
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Salmonnella Typhi
ติดต่อโดยการรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำที่มีเชื้อปนเปื้อน
เชื้อจะเข้าสู่ระบบทางเดินอาหารทำลายเซลล์เยื้อบุทางเดินอาหาร และกระจายเข้ากระแสเลือด ตับ ม้าม ท่อน้ำดีและผิดหนัง
อาการ
ไข้ต่ำๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามร่างกาย เบื่ออาหาร อ่อนเพลียคล้ายไข้หวัดหรือไข้หวัดใหญ่ แต่ไม่มีน้ำมูก อายมีเลือดกำเดาออก ไอแห้งๆ มักมีอาการท้องผูก (ในผู้ใหญ่)หรือมีอาการท้องเสียถ่ายเหลว (ในเด็ก)
-
-
-
การป้องกัน
ดื่มน้ำสะอาดหรือน้ำต้มสุก กินอาหารที่สุกใหม่ๆล้างผักหรือผลไม้ให้สะอาดก่อนรับประทาน ล้างมือให้สะอาด
ถ่ายอุจจาระลงในโถส้วมที่ถูกสุขลักษณะ
ไม่ทิ้งขยะหรือสิ่งปฏิกูลลงในแหล่งน้ำหรือให้วัคซีน
โรคบาดทะยัก
(Tetanus)
เชื้อก่อโรค
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย clostridium tetani ซึ่งผลิต exotoxin
ที่มีผิดต่อเส้นประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อจึงทำให้มีการหดเกร็งตัวอยู่ตลอดเวลา
อาการ
ขากรรไกรแข็ง หน้ายิ้มแบบแสยะ (Risus sardonicus หรือ Sardonic grin)
มือ แขน เกร็ง หลังแข็งและแอ่นโดยจะเป็นมากขึ้นเมื่อมีสิ่งกระตุ้น เช่น เสียงดังหรือถูกต้องตัว ชักกระตุก และเขียวชักกระตุกถี่ๆ เพราะขาดออกซิเจนและทำให้เป็นอันตรายถึงตายได้
การรักษา
รักษาตามอาการ ร่วมกับให้ tetanus antitoxin (TAT) หรือให้ tetanus immune globulin (TIG) เพื่อทำลาย
tetanus toxin
การพยาบาล
- แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยกที่สงบ ไม่มีแสงรบกวน
ระมัดระวังอย่าให้มีเสียงดังเพื่อหลีกเลี่ยงการกระตุ้นให้ผู้ป่วยชักเกร็งมากขึ้น
- ดูแลความสุขสบาย ของผู้ป่วย
- ให้ยาประเภท Sedative ตามแผนการรักษา
- ระมัดระวังไม่ให้ผู้ป่วยตกเตียง ระวังการกัดลิ้น
- ดูดเสมหะ น้ำมูก น้ำลาย เพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง จัดท่านอนโดยหัน ตะแคงศีรษะไปข้างใดข้างหนึ่ง เพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
- ดูแลการได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
- ทำแผล
การป้องกัน
- ฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก
- ทำความสะอาดแผลทันทีเมื่อมีแผล
-
-
-
โรคอหิวาตกโรค
(Cholera)
เชื้อก่อโรค
เป็นโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย วิบริโอ คอเลอรา (Vibrio cholerae )
มักเกิดในช่วงฤดูร้อน
-
การติดต่อ
- ติดต่อจากคนสู่คน
- การรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อ
การรักษา
- ให้ดื่มสารละลายน้ำเกลือแร่ (ORS)ทดแทนให้ได้เท่ากับ ปริมาณที่ถ่ายออกมาในแต่ละครั้ง
- ปรับสมดุลสารน้ำเกลือแร่ให้เพียงพอกับที่เสียไปร่วมกับให้ยาปฏิชีวนะ
-
การป้องกัน
- ดื่มน้ำสะอาดหรือน้ำต้มสุก
- รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ
- ล้างผักผลไม้ให้สะอาด
- ถ่ายอุจจาระลงในส้วมที่ถูกสุขลักษณะ
- หลีกเลี่ยงการสัมผัสผู้ป่วยที่เป็นโรคอหิวาตกโรค