Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด - Coggle Diagram
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด
กระบวนการพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ระยะก่อนการตั้งครรภ์ ขั้นที่ 1การวางแผนการตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
ขั้นที่ 2การยืนยันการตั้งครรภ์
ขั้นที่ 3การยอมรับการตั้งครรภ์
ขั้นที่ 4การรับรู้การเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์
ขั้นที่ 5การยอมรับว่าทารกในครรภ์เป็นบุคคลคนหนึ่ง
ระยะคลอดและระยะหลังคลอด
ขั้นที่ 6การสนใจดูแลสุขภาพตนเองและทารกในครรภ์และการแสวงหาการคลอดที่ปลอดภัย
ขั้นที่ 7การมองดูทารก
ขั้นที่ 8การสัมผัสทารก
ขั้นที่ 9การดูแลทารกและให้ทารกดูดนม
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก ในระยะแรกเกิด
1.การสัมผัส (Touch , Tactile sensesense) พฤติกรรมสำคัญที่จะผูกพันมารดาและบุตร คือ ความสนใจของมารดาในการสัมผัสบุตร
2.การประสานสายตา (Eye to eye c ontactontact) เป็นสื่อที่สำคัญต่อการเริ่มต้นพัฒนาการด้านความเชื่อมั่น ความไว้วางใจ และความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
การใช้เสียง (Voiceoice) การตอบสนดงเริ่มทันทีที่ทารกเกิด มารดาจะรดฟังเสียงทารกร้องครั้งแรก เพื่อยืนยันภาวะสุขภาพของทารก
การเคลื่อนไหวเป็นจังหวะตามเสียงพูด (EntrainmentEntrainment) ทารกจะเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายเป็นจังหวะสัมพันธ์กับเสียงพูดสูงต่ำของมารดา เช่น ขยับแขน ขา ยิ้ม
จังหวะชีวภาพ (BiorhythmcityBiorhythmcity) หลังคลอดทารกจะต้องปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม โดยขณะที่ทารกร้องไห้ มารดาอุ้มทารกไว้แนบอก ทารกจะรับรู้เสียงการเต้นของหัวใจมารดา ซึ่งทารกจะคุ้นเคยตั้งแต่ในครรภ์ ทาให้ทารกมีความรู้สึกมั่นคงยิ่งขึ้น
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก ในระยะแรกเกิด
การรับกลิ่น (OdorOdor) มารดาจากลิ่นกายของทารกได้ตั้งแต่แรกคลอด และแยกกลิ่นทารกของจากทารกดื่นได้ภายใน 3-4 วันหลังคลอด ส่วนทารกสามารถแยกกลิ่นมารดาได้ภายในเวลา 6-10วันหลังคลอด
การให้ความอบอุ่น (B ody warmth หรือ H eateat) มีการศึกษาพบว่า หลังทารกคลอดทันที ได้รับการ เช็ดตัวให้แห้งตัวทารกและนาทารกให้มารดาโอบกอดทันที ทารกจะไม่เกิดการสูญเสียความร้อน
การให้ภูมิคุ้มกันทางน้านม (T and B lymphocytelymphocyte) ทารกจะได้รับภูมิคุ้มกันในนมแม่ ได้แก่T lymphocyte, B lymphocyte และImmunoglobulin A ช่วยป้องกันและทาลายเชื้อโรคในระบบทางเดินดาหาร
การให้ภูมิคุ้มกันทางเดินหายใจ (B acteria nasal flora flora) ขณะที่มารดาอุ้ม โดบกอดทารก จะมีการถ่ายทอดเชื้อโรคในระบบทางเดินหายใจ (normal flora flora) ของมารดาสู่ทารก เกิดภูมิคุ้มกันช่วยป้องกันทารกติดเชื้อจากสิ่งแวดล้อมภายนอก
ตั้งแต่นาทีแรกหลังคลอดจนกระทั่งถึง 1 ชั่วโมงแรกหลังคลอด เป็นช่วงเวลาที่มารดามีความรู้สึกไวที่สุด (Sensitive period period)
การประเมินสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ความสนใจในการดูแลตนเองของตนเองและทารก
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก
ความสามารถในการปฏิบัติบทบาทการเป็นมารดา
ความสามารถในการตอบสนดงความต้ดงการของทารก
บทบาทของพยาบาลผดุงครรภ์ในการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ระยะตั้งครรภ์
ยอมรับการตั้งครรภ์
ครอบครัวคอยให้กาลังใจ
การปรับบทบาทการเป็นบิดา มารดา
ยอมรับความเป็นบุคคลของทารกในครรภ์
การกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์
ระยะคลอด
สร้างบรรยากาศให้เกิดความไว้วางใจ
ลดความวิตกกังวลของผู้คลอด
ให้ข้อมูล เป็นสื่อกลางระหว่างผู้คลอดและครอบครัว
*ส่งเสริมให้การคลอดผ่านไปดย่างปลอดภัย
ระยะหลังคลอด
*ส่งเสริมให้มารดาสัมผัส โดบกอดทารกทันทีหลังคลอด ในระยะ sensitive period
ให้คาแนะนาในการดูแลบุตร
ตอบสนองความต้องการของมารดา
กระตุ้นให้มีปฏิสัมพันธ์กับทารก
เป็นตัวแบบในการสร้างสัมพันธภาพกับทารก
ให้มารดา ทารก บิดา ได้ดยู่ด้วยกันตามลาพัง