Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็ก กระดูกหัก - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็ก กระดูกหัก
-
-
พัฒนาการ
- 6 เดือน :นั่งทรงตัวได้นาน สนใจฟังคนพูด จ้องมองหน้า ร้องไห้เมื่อเห็นคนแปลกหน้า
- 12 เดือน : เดินโดยช่วยจูงมือเด็กทั้ง 2 ข้าง หาของเล่นที่ซ่อนไว้ใต้ผ้าคลุมได้ ดื่มน้ำจากแก้วเล็กๆได้
- 4 เดือน : พลิกตะแคงตัวได้ หันตามเสียง กางแขน กำมือได้
- 15 เดือน : ว่าขวดเท เพื่อเอาขนมหรือของเล่นในขวด พูดคำที่มีความหมายได้
- 3 ปี : เดินเขย่งปลายเท้าได้ 3 เมตร เลือกของที่
มีขนาดที่ใหญ่กว่าหรือเล็กกว่าได้ ถอดเสื้อผ้าเองได้
- 4 ปี : กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าได้ 2-3 ครั้ง ช้นิ้วหัวแม่มือแตะได้ ชอบค้นหา และเรียนรู้
- 2 ปี : ชี้อวัยวะของร่างกายได้ 10 อย่าง บอก
ได้เมื่อต้องการขับถ่าย กระโดด 2 ขา
- 5 ปี : ก้มลงเก็บของที่พื้นขณะวิ่งได้ จับดินสอได้ เล่าเรื่องได้ว่าทำอะไรมา
- 18 เดือน : เดินข้าม หรือหลบหลีกสิ่งกีดขว้าง ชี้อวัยวะของร่างกายได้ 4–5 ส่วน เล่นกับเด็กคนอื่นได้
- 3 เดือน : ชันคอ ยกศรีษะจากพื้นเมื่อนอนคว่ำ
ทาเสียง อือ อา ในลำคอ
-
การติดของกระดูกเด็ก
หลังกระดูกหักเนื้อเยื่อที่ถูกทำลายจะมีการรวมตัวของก้อนเลือดทำให้เกิดการสร้างเนื้อเยื่อใหม่ประมาณ 8 ชม. กระดูกใหม่จะเกิดหลังจากนั้น 48 ชม. ใช้เวลาสร้างโดยเชื่อม 6-7 วัน และติดกันไม่เกิน 6-16 สัปดาห์
การรักษา
จุดประสงค์ที่สาคัญที่สุดในการรักษาในเด็กภาวะฉุกเฉินคือ ช่วยชีวิตเด็กไว้ก่อนแก้ไขเรื่องทางเดินหายใจ เสียเลือด การไหลเวียน ล้มเหลว
-
กระดูกหักที่พบบ่อย
- การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส ( Transient subluxation of radial head , pulled elbow )
เป็นการเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio- humeral ไม่หมด พบได้บ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี
- กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
- กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
-
การรักษา : ตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่ง 10-14 วัน เด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ 2-3 สัปดาห์
- กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
อาการ
- ทารกแรกเกิดมักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ทำคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
- เด็กโต อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง
การักษา : ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้นานประมาณ 2 - 3 สัปดาห์ ในรายที่กระดูกหักเคลื่อนออกจากกันมากๆควรตรึงแขนด้วย traction ตรึงไว้นานประมาณ 3 สัปดาห์
- กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
-
การักษา :ในรายที่หักแบบ greenstick อาจใส่เฝือกแบบ posterior plaster splint ประมาณ 1 สัปดาห์เมื่อยุบบวม จึงเปลี่ยนเฝือกพันต่ออีก 2-3 สัปดาห์
-
-
-
-
-
-
การพยาบาล
- จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
-
-
-
- เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
- การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
-
-
-