Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหัก
ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง หรือมีเพียงบางส่วนติดกันหรือเป็นเพียงแตกร้าว
ข้อเคลื่อน
ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า ซึ่งการบาดเจ็บของข้อ และกระดูกยังส่งผลให้เนื้อเยื่อที่อยู่โดยรอบกระดูก หลอดเลือด น้ำเหลือง เส้นประสาทและเส้นเอ็นได้รับอันตรายด้วย
กระดูกเด็กมีลักษณะแตกต่างจากผู้ใหญ่
แผ่นเติบโต(growth Plate)
เยื่อบุโพรงกระดูก(endosteum)
เยื่อหุ้มกระดูก (periosteum)
ปัญหาด้านการวินิจฉัยกระดูกหักในเด็กการตรวจร่างกายอาจไม่แน่ชัด หรือเชื่อถือได้อยาก
การบวมของแขน ขาในเด็กจะเกิดขึ้นเร็วภายหลังมีกระดูกหักหรือข้อเคลื่อน แต่การบวมนี้ก็หายเร็ว
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน (ischemic changes)
การเจริญเติบโตของเด็กเล็กเริ่มจากการทดแทนกระดูกอ่อนด้วยศูนย์กระดูกปฐมภูมิ (primary ossification center) ต่อมาจะมีการทดแทนกระดูกอ่อนที่ส่วนปลายกระดูกเป็นศูนย์กระดูกทุติยภูมิ (ossification cente secondary) ท้าให้กระดูกงอกตามยาว
สาเหตุ
มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุน้ามาก่อนมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรงและทางอ้อม
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
รอยจ้้าเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การติดของกระดูกเด็ก
สิ่งที่สร้างขึ้นมา ประสานรอยร้าวหรือรอยแตกของกระดูก
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ ซักเกี่ยวกับเรื่องการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
การตรวจร่างกาย ตรวจเหมือนเด็กทั่วไป และให้ความสนใจต่อส่วนที่ได้รับภยันตรายให้มาก ต้องกระท้าด้วยความนุ่มนวล เพราะเด็กจะเจ็บ
หลักการรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
เป้าหมายการรักษา
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส (Transient subluxation of radial head , pulled elbow )
กระดูกปลายแขนหัก
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
การพยาบาลเด็กที่ได้รับบาดเจ็บของกระดูกและข้อ
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
ดึงกระดูก( traction)
Bryant’s traction
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper limb
Dunlop’s traction
Skin traction
Russell’s traction
ผ่าตัด open reduction internal fixation ( ORIF )
เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว้ อาจใช้ plate , screw, nail หรือ wire แพทย์จะ พิจารณาท้าในรายที่กระดูกหักมาก เกิดอันตรายต่ออวัยวะโดยรอบ
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย ผลข้างเคียงของการวางยาชนิด GA / การจัดท่านอนให้นอนราบไม่หนุนหมอน สังเกตอาการคลื่นไส้อาเจียน
การประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale ถ้าปวดอาจพิจารณาให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจากัดเคลื่อนไหว
ป้องกัน/ลดอาการข้อติดแข็ง กล้ามเนื้อลีบกระตุ้นให้เด็กมีการออกก้าลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ ด้วยการเปลี่ยนท่าที่เหมาะสมให้เด็กอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
ลดอาการท้องผูกด้วยการกระตุ้นให้เด็กมีการ เคลื่อนไหว จัดอาหารที่มีกากมาก ดื่มน้้าให้เพียงพอ
ช่วยให้ปอดขยายตัวเต็มที่ด้วยการกระตุ้นให้เด็กหายใจเข้าออกลึกๆแรงๆหลายๆครั้ง
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูก เนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
ท้าความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือกที่ด้วยการชะล้างสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในบาดแผลออกให้หมด
ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อเกิดขึ้นจาก ลักษณะแผล สิ่งคัดหลั่ง การบวมแดง
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
การพยาบาลเพื่อลดความ เครียดวิตกกังวลเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจของเด็กและญาติ
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกที่ดีแก่เด็กและญาติที่มีต่อการรักษาพยาบาลและตัวบุคลากร
จัดกิจกรรมหรือเปิดโอกาสให้เด็กและญาติให้มีการระบายออก
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ
การพยาบาลเพื่อบรรเทาปวด
ประเมินระดับอาการปวดของผู้ป่วย
จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือskin traction พันแน่นเกินไปหรือไม่
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ
กรณีเด็กได้รับการผ่าตัด อาจมีการรัดโดยส้าลีพันเฝือกบริเวณข้อศอก ข้อเข่า ควรคลาย ส้าลีพันเฝือกให้ถึงผิวหนังเด็ก
ผู้ป่วยที่ได้รับการยึดด้วย Kirschner wire ผ่านผิวหนังออกมาข้างนอกเพื่อสะดวกในการถอด ต้องหมั่นท้าแผลจนกว่าจะถึงเวลาที่ถอด
การพยาบาลเพื่อให้คาแนะนาการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
การดูแลแผลผ่าตัด ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้้าหรือสกปรก
ห้ามผู้ป่วยและญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
ควรสังเกตอาการผิดปกติที่จ้าเป็นต้องมาโรงพยาบาลทันที
ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อให้แผลหายดี
รักษาสุขภาพ อนามัยให้แข็งแรงอยู่เสมอ และหมั่นออกก้าลังกายกล้ามเนื้อและข้อ
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
ท้าให้แขน มือ และนิ้วหงิกงอ ได้แก่ Volkmann’ s ischemic contracture
สาเหตุ
เกิดจากกล้ามเนื้อบริเวณ forearm (กลุ่มกล้ามเนื้อ pronator และ flexor) ขาดเลือดไปเลี้ยง หรือมีเลือดไปเลี้ยงน้อย
ระยะต่าง ๆ ของการเกิด Volkmann’s ischemic contracture
ระยะเริ่มเป็น
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
วิธีป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุดขณะที่หักเกิดขึ้นใหม่ ๆ
อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือกจะงอได้มากแค่ไหนควรใช้การจับชีพจรเป็นหลักต้องงอพอที่จะจับชีพจรได้เสมอ
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าพันธรรมดา
โรคคอเอียงแต่กาเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ
มักคล้าพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อย ๆ ยุบลงไป การปล่อยให้มีภาวะคอเอียงอยู่นานจะส่งผลให้กะโหลกศีรษะ ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศีรษะบิดเบี้ยวไม่สมดุล
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ลักษณะของผู้ป่วย ซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น ได้ผลดีเมื่อทำในเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
พบได้มากในเด็กอายุ 6 เดือน – 3 ปี จากการขาดวิตามินดี
โรคไตที่ท้าให้เกิดความผิดปกติของการจับเกาะเกลือแร่ที่กระดูกอ่อน ท้าให้เกิดความผิดปกติของเนื้อกระดูก
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของล้าไส้ ดูดซึมแคลเซียม
โรคไตบางชนิดท้าให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต
ภาวะฟอสเฟตต่้า (Hypophosphatasia) จากขาด Alkaline Phosphatase
การรักษา
แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
การป้องกัน
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
ให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อวันต่อน้้าหนักตัวส้าหรับเด็กคลอดก่อนก้าหนด
ให้ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม
Bone and Joint infection
Definite (ติดเชื้อกระดูกอย่างแน่นอน) ตรวจพบเชื้อโรคจากกระดูกหรือเนื้อเยื่อติดกับกระดูกนั้นหรือผลตรวจชิ้นเนื้อแสดงถึงการติดเชื้อ
Probable (น่าจะติดเชื้อที่กระดูก) การติดเชื้อในเลือด ร่วมกับลักษณะทางคลินิค และภาพรังสี
Likely (คล้ายติดเชื้อที่กระดูก) พบลักษณะทางคลินิคและภาพรังสีเข้าได้กับการติดเชื้อที่กระดูกตอบสนองดีต่อยาปฏิชีวนะโดยที่ไม่พบเชื้อจากการเพาะเลี้ยง
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่ข้อ
อุณหภูมิร่างกาย > 38.3 องศาเซลเซียส
มีอาการปวดข้อ
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
ข้อบวม
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่น ๆ ร่วม
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
Osteomyelitis
อุบัติการณ์
พบในเด็กอายุน้อยกว่า 13 ปี พบมีการติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาวมากที่สุด
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย,เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก แพร่กระจายจากกระแสเลือด
การวินิจฉัย
ประวัติ
มีอาการปวด เด็กเล็กแสดงออกโดยไม่ใช้แขน ขา
การตรวจร่างกาย
มีปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผล CBC พบ Leucocytosis , ESR , CRP มีค่าสูง ผล Gram stainculture ขึ้นเชื้อที่เป็นสาเหตุ
การตรวจทางรังสี
Plain flim
Bone scan
MRI (Magnatic resonance imaging)
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อ physis เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดูก ท้าลาย physeal plate
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิค
มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อ
ผล Lab เจาะดูดน้้าในข้อ (joint aspiration) มาย้อม gram stain
การตรวจทางรังสี
Plain flim อาจพบช่องระหว่างข้อกว้าง
Ultrasound บอกถึงภาวะมีน้้าในข้อมาก หรือเคลื่อนหลุด
Bone scan / MRI ช่วยบอกถึงการติดเชื้อกระดูก
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
วัณโรคกระดูกและข้อในเด็กพบร้อยละ 4 ของการติดเชื้อวัณโรคปอด
ตาแหน่งที่พบบ่อย
ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ จากการไอ
อาการและอาการแสดง
หลังการติดเชื้อประมาณ 1 – 3 ปีที่กระดูกรอยโรคเริ่มที่ metaphysis ของ long bone ซึ่งมีเลือดมาเลี้ยงมาก อาจเป็นตำแหน่งเดียวหรือมากกว่า
ลักษณะทางคลินิก
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้้าหนักลด มีไข้ต่้าๆ ตอนบ่ายหรือเย็นต่อมน้้าเหลืองโต ประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เป็นวัณโรค
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC อาจพบ WBC ปกติหรือสูงไม่มาก ค่า CRP , ESR สูง ทดสอบ tuberculin test ผล +
การตรวจทางรังสี
plaint film , MRI
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง ผ่าตัดเพื่อแก้การกดทับ
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
พยาธิสรีรภาพ
การเจริญผิดปกติของกระดูกสันหลัง การอัมพาตของกล้ามเนื้อท้าให้กระดูกเจริญเติบโตน้อย ไม่เท่ากันทั้งสองข้างท้าให้ข้อคดงอ ขายาวไม่เท่ากัน ทำให้ตัวเอียงและหลังคด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : การผ่าตัด ความพิการของกระดูกสันหลัง
การตรวจร่างกาย : สังเกตความพิการ ส่วนสูง น้้าหนักตัว แนวลำตัว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอื่น ๆ : X-Ray
อาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน สะบักไม่อยู่ระดับเดียวกันคือไหล่ข้างหนึ่ง สูงกว่าอีกข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจ้ากัด มักหายใจตื้น หายใจลึกท้าได้ยาก
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออกจะฝ่อลีบและบาง
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวล้าตัว ความจุในทรวงอกสองข้างไม่สมมาตรไม่เท่ากัน
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
มีอาการปวดเมื่อหลังคดมาก ในเด็กอาจพบไม่บ่อย
เริ่มมีอาการเมื่ออายุน้อยยิ่งมีความพิการมาก กระดูกสันหลังส่วนเอวคดมีพยากรณ์โรคดีกว่ากระดูกสันหลังคด
การรักษา
แบบอนุรักษ์นิยม (Conservation) กายภาพบ้าบัด , บริหารร่างกาย
การผ่าตัด เป็นการรักษาสมดุลของล้าตัว แก้ไขแนวตรงของร่างกาย