Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด, นางสาวกนกวรรณ ไร่สงวน เลขที่ 5…
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด
Bonding (ความผูกพัน)
กระบวนการผูกพันทางอารมณ์ที่พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูมีต่อทารกฝ่ายเดียว เกิดขึ้นตั้งแต่วางแผนตั้งครรภ์ ทราบว่าตั้งครรภ์หรือเกิดขึ้นชัดเจน เมื่อรับรู้ว่าลูกดิ้นและเพิ่มสูงสุดเมื่อทารกคลอดออกมา
Attachment (สัมพันธภาพ)
ความรู้สึกรักใคร่ผูกพันระหว่างทารกกับพ่อย อาทร เพิ่มขึ้นจนกลายเป็นความผูกพันทางใจ จะใช้เวลาในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องยาวนานความรู้สึกรักใคร่ผูกพันระหว่างทารกกับพ่อแม่ หรือผู้เลี้ยงดู เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเป็นพิเศษและคงดยู่ถาวร จะเกิดขึ้นทีละเล็กละน้อยจากความใกล้ชิด ห่วงใย อาทร เพิ่มขึ้นจนกลายเป็นความผูกพันทางใจ จะใช้เวลาในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องยาวนาน
การพัฒนาสัมพันธาภาพในระยะหลังคลอด
ระยะแรกหลังคลอดทันที มารดาจะแสดงความรักความผูกพันกับลูก ตั้งแต่นาทีแรกหลังคลอดจนกระทั่งถึง 1 ชั่วโมงแรกหลังคลอด เป็นช่วงเวลาที่มารดามี ความรู้สึกไวที่สุด (Sensitive period) เป็นช่วงเวลาสำคัญที่เหมาะสมต่อการสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารกในระยะแรกเกิด
การสัมผัส (touch, tactile sense)
ความสนใจของมารดาในการสัมผัสบุตร
การประสานสายตา (eye-to-eye contact)
พฒันาการด้านความเชื่อมั่นความไว้วางใจ และความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
การใช้เสียง (voice)
การตอบสนองเริ่มทันทีที่ทารกเกิด
จังหวะชีวภาพ (biorhythmcity)
ทารกร้องไห ้มารดาอุ้มทารกไว้แนบอก ทารกจะรับรู้เสียงการเต้นของหัวใจมารดา ซึ่งทารกจะคุ้นเคยตั้งแต่ในครรภ์ ทำให้ทารกมีความรู้สึกมั่นคงยิ่งขึ้น
การเคลื่อนไหวเป็นจังหวะตามเสียงพูด (entrainment)
สัมพันธ์กับเสียงพูดสูงต่ำของมารดา
การรับกลิ่น (odor)
มารดาจำกลิ่นกายของทารกได้ตั้งแต่แรกคลอด
การให้ความอบอุ่น (body warmth หรือ heat)
ทารกจะไม่เกิดการสูญเสียความร้อน
การให้ภูมิคุ้มกันทางน้ำนม (T and Blymphocyte)
การให้ภูมิคุ้มกันทางเดินหายใจ (bacterianasal flora)
การประเมินสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ความสนใจในการดูแลตนเองของตนเองและทารก
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก
ความสามารถในการปฏิบัติบทบาทการเป็นมารดา
ความสามารถในการตอบสนองความต้องการของทารก
บทบาทของพยาบาลผดุงครรภ์ในการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ระยะหลังคลอด
• ส่งเสริมให้มารดาสัมผัสโอบกอดทารกทันทีหลังคลอด ในระยะ sensitive period
• *Rooming inโดยเร็วที่สุด
• ให้คำแนะนำในการดูแลบุตร
• กระตุ้นให้มีปฏิสัมพันธ์กับทารก
• เป็นตัวแบบในการสร้างสัมพันธภาพกับทารก
• ให้มารดาทารก บิดา ได้อยู่ด้วยกันตามลำพัง
• ตอบสนองความต้องการของมารดา
ระยะตั้งครรภ์
• ยอมรับการตั้งครรภ์
• ครอบครัวคอยู่ให้กำลังใจ
• ยอมรับความเป็นบุคคลของทารกในครรภ์
• การกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์
• การปรับบทบาทการเป็น บิดา มารดา
ระยะคลอด
• สร้างบรรยากาศให้เกิดความไว้วางใจ
• ลดความวิตกกังวลขอผู้คลอด
• ให้ข้ดมูลเป็นสื่่อกลางระหว่างผู้คลอดและครอบครัว
• ส่งเสริมให้การคลอดผ่านไปอย่างปลอดภัย
พฤติกรรมของมารดาและทารกที่แสดงถึงการขาดสัมพนัธภาพ (Lack of attachment)
ไม่สนใจมองบุตร สีหน้าเมินเฉยหรือหันหน้าหนี
ไม่ตอบสนองต่อบุตร เช่น ไม่สัมผัส ไม่ยิ้ม ไม่อุ้มกอดทารก
พูดถึงบุตรในทางลบ
แสดงท่าทางหรือคำพูดที่ไม่พึงพอใจขณะดูแลบุตร
ขาดความสนใจในการซักถามเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุตรและการเลี้ยงดูบุตร
นางสาวกนกวรรณ ไร่สงวน เลขที่ 5 ห้อง A