Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูกหักในเด็ก, นางสาวกัลยรัตน์ กลิ่นจำปา…
การพยาบาลที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูกหักในเด็ก
พัฒนาการเด็กตั้งแต่แรกเกิด
ช่วงอายุ 3 เดือน
ทำเสียง อือ อา ในลำคอ
ชันคอ ยกศรีษะจากพื้นเมื่อนอนคว่ำ
ช่วงอายุ 4 เดือน
พลิกตะแคงตัวได้
หันตามเสียง
กางมือออกแล้วกำของเล่นได้
ช่วงอายุ 6 เดือน
นั่งทรงตัวได้นาน
สนใจฟังคนพูด
ร้องไห้เมื่อเห็นคนแปลกหน้า
ช่วงอายุ 12 เดือน
เดินโดยช่วยจูงมือเด็กทั้ง 2 ข้าง
ค้นหาของเล่นที่ซ่อนไว้ใต้ผ้าคลุมได้
ดื่มน้ำจากถ้วยแก้วหรือขันเล็กๆ ได้
ช่วงอายุ 15 เดือน
คว่ำขวดเท
พูดคำที่มีความหมายอย่างน้อย 4 คำ
ร่วมมือในการแต่งตัว
ช่วงอายุ 18 เดือน
เดินข้ามหรือหลบหลีกสิ่งกีดขว้าง
ชี้อวัยวะของร่างกายได้ 4 – 5 ส่วน
ช่วงอายุ 2 ปี
ชี้อวัยวะของร่างกายได้ 10อย่าง
บอกได้เมื่อต้องการขับถ่าย
ช่วงอายุ 3 ปี
เดินเขย่งปลายเท้าได้ 3เมตร
เลือกของที่มีขนาดที่ใหญ่กว่าหรือเล็กกว่าได้
ถอดเสื้อผ้าเองได้
ช่วงอายุ 4 ปี
กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าได้ 2-3 ครั้ง
ใช้นิ้วหัวแม่มือแตะได้
ชอบค้นหาและเรียนรู้สิ่งใหม่รอบๆตัว
ช่วงอายุ 5 ปี
ก้มลงเก็บของที่พื้นขณะวิ่งได้
จับดินสอถูกต้อง
กระดูกหัก
ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยก
ออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง
มีเพียงบางส่วนติดกันหรือเป็นเพียงแตกร้าว
ข้อเคลื่อน
ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่
หรือหลุดออกจากเบ้า
กระดูกเด็กมีลักษณะแตกต่างจากผู้ใหญ่
แผ่นเติบโต
มีความอ่อนแอกว่าเอ็น
เอ็นหุ้ม ข้อและเยื่อหุ้มข้อเมื่อมีการแตกหักจะหักบริเวณนี้มากกว่า
เยื่อหุ้มกระดูก
มีความแข็งแรงและสามารถสร้างกระดูกได้ดี
กระดูกหักในเด็กจึงติดเร็ว
เยื่อบุโพรงกระดูก
สามารถสร้างกระดูกได้มากและเร็ว
เด็กอายุยิ่งน้อยกระดูกยิ่งติดเร็ว
ปัญหาด้านการวินิจฉัยกระดูกหักในเด็กการตรวจร่างกายอาจไม่แน่ชัด
การบวมของแขน
ขาในเด็กจะเกิดขึ้นเร็วภายหลังมีกระดูกหักหรือข้อเคลื่อน แต่การบวมนี้ก็หายเร็ว
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน
จากการใส่เฝือกหรือพันผ้าแน่น
เกินไปต้องระมัดระวังและแก้ไขทันที
อาจเกิด ภาวะ Volk
man’s ischemic contracture
การเจริญเติบโตของเด็กเล็กเริ่มจากการทดแทนกระดูกอ่อน
มีการทดแทนกระดูกอ่อนที่ส่วนปลายกระดูกเป็นศูนย์กระดูกทุติยภูมิ ทำให้กระดูกงอกตามยาว
สถิติกระดูกหักในเด็ก
อายุ
6 ถึง 8 ปี
12 ถึง 15 ปี
อายุต่ำกว่า 4 ปี พบน้อย
เพศ
พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
สาเหตุที่พบบ่อย
หกล้มเป็นส่วนใหญ่
ตกจากที่สูง
อุบัติเหตุในท้องถนน
ตำแหน่งที่พบบ่อย
กระดูกต้นแขนหัก พบบ่อยสุด
กระดูกแขนท่อนปลายที่บริเวณเหนือข้อศอก
ตำแหน่งที่พบกระดูกหัก
มากที่สุดในเด็กไทย
กระดูกหักพบมากทางซีกซ้ายมากกว่าทางซีกขวา
การรักษาส่วนใหญ่รักษาโดยวิธีอนุรักษ์นิยม
ไม่ผ่าตัดโดยใส่เฝือกไว้
ใช้เวลาในการรักษาส่วนใหญ่ 4-6สัปดาห์
สาเหตุ
มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุน้ามาก่อนมีแรง
กระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง
ถูกตี
รถชน
ตกจากที่สูง
จากการกระตุ้นทางอ้อม
หกล้ม
เอามือยันพื้น
มีพยาธิสภาพของโรคที่ท้าให้กระดูกบาง หักแตกหักง่าย
มะเร็งของกระดูก
กระดูกอักเสบ
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวดและกดเจ็บ
บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
รอยจ้ำเขียว
มีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
กระดูกและข้อเคลื่อนในเด็กส่วนใหญ่รักษารักษาโดยไม่ผ่าตัด
ยกเว้น
กระดูกมีแผลเปิด
กระดูกหักผ่านข้อ
กระดูกหักในเด็กตามการแบ่งของ Salter
ชนิด Ш
ชนิด ІV
กระดูกหักจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ
กระดูกคอฟีเมอร์หักและเคลื่อน
ข้อเคลื่อนที่มีชั้นกระดูกติดอยู่ในข้อ
ข้อเคลื่อนที่ไม่สามารถจัดเข้าที่ได้โดยไม่ผ่าตัด
มักเป็นเวลานานกว่า
2 สัปดาห์ หรือมีเนื้อเยื่อขวางกั้น
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
เกี่ยวกับอุบัติเหตุที่เกิด
การตรวจร่างกาย
ตรวจเหมือนเด็กทั่วไป
ให้ความสนใจต่อส่วนที่ได้รับภัยนตรายให้มาก
กระทำด้วยความนุ่มนวล
สักเกตลักษณะกระดูกและข้อจากภายนอก
การตรวจพบทางรังสี
มีความจ้าเป็นในการถ่ายภาพให้ถูกต้อง
การรักษา
การรักษาในเด็กภาวะฉุกเฉิน
ช่วยชีวิตเด็กไว้ก่อนแก้ไขเรื่องทางเดินหายใจ
การเสียเลือด
ภาวะการณ์
ไหลเวียนล้มเหลว
หลักการรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
เป้าหมายการรักษา
ระยะแรกจะมุ่งลดความเจ็บปวด
จัดให้กระดูกที่หักอยู่นิ่งๆ
โดยใช้เฝือกดาม ไม้ดาม หรือผ้าพันยืด
จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูกให้มีแนวกระดูก
ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
ให้อวัยวะนั้นกลับท างานได้เร็วที่สุด
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก
เกิดขึ้นกับเด็กมากที่สุด
โดยเฉพาะในเด็กที่อายุต่ำกว่า 10 ปี
ส่วนในทารกอาจเกิดจากการคลอดติดไหล่
อาการและอาการแสดง
Pseudoparalysis
ขยับข้างที่เป็นได้น้อย
ไหล่ตก
Crepitus
คล้าได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ
ยื่นตัวไปข้างหน้า
แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็ก
ตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา
พันนาน 10-14 วัน
ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก
เด็กอายุมากกว่า 3 ปี
อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ
ห้อยแขนให้
ข้อศอกงอ 90 องศา
พันแขนให้ติดกับลำตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าสำลี คล้องแขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก
ทารกแรกเกิด
มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ท้าคลอด
สอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
เด็กโต
อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอก
กระแทกพื้นโดยตรง
พบหัวไหล่บวม ช้ำ
เวลาจับไหล่หรือแขนให้มีการเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด
อาจให้ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้
นานประมาณ 2 - 3 สัปดาห์
ในรายที่กระดูกหักเคลื่อนออก
ควรตรึงแขนด้วย traction
ตรึงไว้นาน
ประมาณ 3 สัปดาห์
อาจทำ skin traction หรือ skeletal
traction
กระดูกข้อศอกหัก
พบบ่อยในเด็กเพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย
การหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง
ข้อศอกงอ
เด็กจะปวดบวมบริเวณข้อศอกอย่างมาก
พบบ่อยในเด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียน
โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
Volkman’s ischemic
contracture
กระดูกหักบริเวณนี้อาจเกิดปัญหา
เกี่ยวกับการเจริญเติบโตของกระดูก Humerus
ในรายที่หักแบบ greenstick
ใส่เฝือกแบบ posterior plaster splint
ประมาณ 1 สัปดาห์เมื่อยุบบวม
เปลี่ยนเฝือกพันต่ออีก 2-3 สัปดาห์
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
พบบ่อยในเด็กที่อายุต่ำกว่า 6 ปี
กระดูกปลายแขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่น
เกิดจากการกระทำทางอ้อม
หกล้มเอามือเท้าพื้น
ตกจากที่สูง
กระดูกต้นขาหัก
พบได้ทุกวัย โดยเฉพาะอายุ 2 - 3 ปี
ส่วนมากจะเกิดกับเด็กชายมากกว่า
ซุกซนกว่า
ตำแหน่งที่พบ
ช่วงกลางของ
กระดูกต้นขา
เด็กจะปวดบริเวณข้างที่หัก
บวมตรงตำแหน่งกระดูก
ถ้าอายุต่ำกว่า 3 ปี แก้ไขโดยให้ใส่เฝือกขาแบบ ยาวนาน 3-4 สัปดาห์
ถ้ากระดูกเคลื่อนออกจากกันมากๆ
รักษา
Gallow’s หรือ
Bryant’s traction
ถ้าอายุมากกว่า 3 ปี แก้ไขโดยทำ Russel’s traction
ภยันตรายต่อข่ายประสาท
ข่ายประสาท brachial plexus
เป็นการรวมตัวของรากประสาทไขสันหลังส่วน ventral rami ระดับ C5-T1
เกิดอาการแขนอ่อนแรง
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด
การคลอดท่าก้น
ภาวะคลอด
ติดไหล่
เด็กมีน้ำหนักมากและการคลอดที่ใช้เวลานาน
การวินิจฉัย
จากการสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา
ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาล
โดยพิจารณา ระบบ ABCDEF
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ
โดยการสังเกต คลำ
ดูความสัมพันธ์ของอวัยวะ
การเคลื่อนไหวของข้อต่าง ๆ
การยกขึ้น งอหรือเหยียด
ตรวจสอบความตึงตัว
อาการเกร็งของกล้ามเนื้อ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
ดึงกระดูก
ผ่าตัดท้า open reduction internal fixation ( ORIF )
เข้าเฝือกปูน
การจัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือกภายใน 24 ชั่วโมง
ซึ่งระเมินได้จาก 5 PS หรือ 6P
Pulselessness ชีพจรเบา,เย็น
Pallorปลายมือปลายเท้าซีด หรือเขียวคล้้า
Paresthesia ชา ขาดความรู้สึก
Paralysis เส้นประสาทถูกกด เคลื่อนไหวไม่ได้
Pain มีอาการเจ็บมากกว่าเดิม
Puffiness or Swelling มีอาการบวมมากขึ้น
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
การยกหรือเคลื่อนย้ายเด็ก ต้องระวังเฝือกหัก
ระมัดระวังไม่ให้เฝือกเปียกน้้า
แนะนำเด็กและญาติ ในการดูแลเฝือก
การดึงกระดูก
การดูแลให้การดึงกระดูกมีประสิทธิภาพตลอด
ดูแลแรงดึงสมดุลเพียงพอกับน้ าหนักผู้ป่วย 1/5 ปอนด์ต่อน้ าหนัก 1 กิโลกรัม
น้ำหนักที่ใช้ถ่วงแขวนลอยอิสระไม่แตะพื้นหรือข้างเตียงขณะดึงกระดูกควรจัดท่า
นอนของเด็กให้ถูกต้องตามชนิดของ Traction
ขณะดึงกระดูกควรจัดท่านอนของเด็กให้ถูกต้องตามชนิดของTraction ควรใช้ผ้าตรึงตัวเด็กให้ถูกกับ position ของ traction นั้นๆ
สังเกตการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย
จะต้องไม่เอาน้ำหนักออก หรือถอด traction เองจนกว่าแพทย์สั่ง
รายที่ทำSkeletal Traction ต้องสังเกตอาการติดเชื้อบริเวณที่เหล็กดึงกระดูก
ชนิดของ Traction ที่ใช้รักษากระดูกหักในเด็ก
Bryant’s traction
เด็กที่กระดูกต้นขาหักตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบ
น้ำหนัก
ไม่เกิน 13 กิโลกรัม
Over Head traction
ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน
เป็นการเข้า traction
ในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศา กับลำตัว
Dunlop’s traction
ใช้กับเด็กในรายที่มี Displaced Supracondylar Fractureก
Skin traction
ใช้ในรายที่มีfacture shaft of femur
ในเด็กโต อายุมากกว่า 3 ขวบขึ้นไป traction แบบนี้อาจเกิดปัญหาการกด peroneal nerve ทำให้เกิด foot drop ได้
Russell’s traction
ใช้ในเด็กโตที่มีFracture shaft of femur
การทำ traction ชนิดนี้อาจเกิดปัญหาการผ้า sling ที่คล้องใต้ขาไปกด เส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณใต้เข่าได้
ผ่าตัดทำ open reduction internal fixation (ORIF)
เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว้
การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
ด้านร่างกาย
การเตรียมผิวหนังเฉพาะที่
การดูแลความสะอาดของร่างกาย
อาบน้ำ
แปรงฟัน
ในเด็กเล็กอาจใส่ผ้าอ้อมสำเร็จรูป
การสำรวจว่ามีฟันโยกในเด็ก
การตรวจวัดสัญญาณชีพ
ผู้ป่วยจะได้รับการตรวจชีพจร เช้า เย็น
การประเมินอาการของระบบประสาท และหลอดเลือด
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ/ ยา /เอกสารใบเซ็นยินยอม /
ผล Lab / ผล X-ray
ด้านจิตใจ
ผู้ป่วยและญาติให้ค้าแนะนำเกี่ยวกับการผ่าตัดแก่ผู้ป่วย
ขั้นตอนในการผ่าตัดโดยสังเขป
การปฏิบัติตัวภายหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
สภาพแวดล้อมภายในห้องผ่าตัด
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
การประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale
ถ้าปวดอาจพิจารณา
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด
ถ้ามีเลือดออกมาผิดปกติให้ใช้ผ้าก๊อสหนา ๆ ปิดทับพันให้แน่นห้ามดึงของเก่าออก แล้วรีบรายงานแพทย์
ประเมินการไหลเวียนของอวัยวะส่วนปลาย
ทดสอบการไหลเวียนเลือด
เพื่อตรวจสอบว่าเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลาย
เพียงพอหรือไม่
ปกติไม่ควรนานเกิน 3 วินาที
ประเมิน 6 P
จัดท่าเด็กโดยยกส่วนที่ท้าผ่าตัดให้สูงกว่าระดับหัวใจ
การทำแผล
จะเปิดทำแผลทุกวันหรือไม่เปิดทำแผลเลย
การตัดไหม
มักจะเอาไว้อย่างน้อย 10-14 วัน
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดเคลื่อนไหว
ป้องกันและลดอาการข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบ
กระตุ้นให้เด็กมีการออกกำลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ
การเปลี่ยนท่าที่เหมาะสมให้เด็กอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
ลดอาการท้องผูก
การกระตุ้นให้เด็กมีการเคลื่อนไหว
จัดอาหารที่มีกากมาก
ดื่มน้ำให้เพียงพอ
ช่วยให้ปอดขยายตัวเต็มที่
การกระตุ้นให้เด็กหายใจเข้าออกลึกๆแรงๆหลายๆครั้ง
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูก
เนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
ท้าความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือก
ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อ
ลักษณะแผล
สิ่งคัดหลั่ง
อาการบวมแดง
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
.การพยาบาลเพื่อลดความ เครียดวิตกกังวลเมื่อ
เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจของเด็กและญาติ
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกที่ดีแก่เด็กและญาติที่มีต่อการ
จัดกิจกรรมหรือเปิดโอกาสให้เด็กและญาติให้มีการระบายออก
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆแต่ต้อง
ประเมินอาการเจ็บปวดด้วย
การพยาบาลเพื่อบรรเทาปวด
ประเมินระดับอาการปวดของผู้ป่วย
จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือskin traction พันแน่นเกินไปหรือไม่
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ
ผู้ป่วยที่ได้รับการยึดด้วย Kirschner wire
ต้องหมั่นทำแผลจนกว่าจะถึงเวลาที่ถอด
การพยาบาลเพื่อให้ค้าแนะน้าการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
การดูแลแผลผ่าตัด
ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำหรือสกปรก
ห้ามผู้ป่วยและญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
ควรสังเกตอาการผิดปกติที่จำเป็นต้องมาโรงพยาบาลทันที
เฝือกมีกลิ่นเหม็น
ปลายมือปลายเท้าชา
เขียวคล้ำ
มีไข้สูง
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
Volkmann’ s ischemic contracture
ทำให้แขน มือ และนิ้วหงิกงอ
พบมากในผู้ป่วย
ที่มีกระดูกหักบริเวณ supracondylar of humerus
ในผู้ป่วยที่มีfracture both bone of forearm
ลักษณะรูปร่างของนิ้ว มือ และแขนใน
แขนอยู่ในท่าคว่ำมือ
ข้อศอกอาจจะงอ
ข้อมือพับลง
ข้อ metacarpophalangeal กระดกขึ้น หรือมี extension
นิ้วจะงอทุกนิ้ว
อาจมีอัมพาต ถ้า median nerve หรือ ulnar nerve ถูกทำลาย
กล้ามเนื้อแขนลีบแข็ง
ข้อเกือบทุกข้อจะแข็ง บางรายอาจจะกระดิกได้
กล้ามเนื้อมือลีบ เหมือนกับมีอัมพาต
สาเหตุ
เกิดจากกล้ามเนื้อบริเวณ forearm ขาดเลือดไปเลี้ยง
ปลายกระดูกหักชิ้นบน
การเคลื่อนของกระดูกมาก
เลือดแข็งจับกันเป็นก้อน
งอพับข้อศอกมากเกินไป
ขณะบวม
แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะเริ่มเป็น
อาการและอาการแสดง
เจ็บและปวด
นิ้วกางออก กระดิกไม่ได้
มีบวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว
สีของนิ้วขาวซีด ชา
ชีพจรคลำ ไม่ได้ชัดหรือไม่ได้
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อบวม ตึง เเข็งและมีสีคล้ำ
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
การหดตัวเกิดที่กล้ามเนื้อ
Pronator และ flexor ของแขน
ทำให้มือและนิ้วหงิกงอ ใช้การไม่ได้
วิธีป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่เร็วที่สุด
อย่างอข้อศอกมากเกินไป ขณะใส่เฝือก
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าพันธรรมดา
โรคคอเอียงแต่กำเนิด
เป็นลักษณะที่ศีรษะเอียงจากแนวกึ่งกลางไปด้านใดด้านหนึ่งจากกล้ามเนื้อด้านข้างคอ Sternocleidomastoid
อาการ
คลำพบก้อนที่ข้างคอที่เอียง
ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง
ศีรษะบิดเบี้ยวไม่สมดุล
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ลักษณะของผู้ป่วย
ซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น
ได้ผลดีเมื่อทำกับเด็กที่อายุน้อยกว่า 1 ปี
การยืดโดยวิธีดัด
จัดท่านอนหงาย
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง
เด็กหันหน้ามาด้านที่คอเอียงที่มีกล้ามเนื้อหดสั้น
การให้นม
หาวัตถุล่อให้มองตาม
จัดท่าขณะนอนหลับ
การใช้อุปกรณ์พยุง
ปรับตำแหน่งศีรษะ
การผ่าตัด
อายุที่เหมาะสมในช่วงอายุ 1 – 4 ปี
การผ่าตัด bipolar release
กระดูกสันหลังคด
การผิดรูปของแนวกระดูกสันหลังจากปกติที่โค้งงอไปด้านหน้าและหลังเล็กน้อย
โค้งงอ คดงอ บิดเบี้ยว
มีอาการซีด
สมรรถภาพทางกายเสื่อม
มีความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจและหัวใจ
พยาธิสรีรภาพ
การเจริญผิดปกติของกระดูกสันหลัง
การอัมพาตของกล้ามเนื้อท้า
ให้กระดูกเจริญเติบโตน้อย ไม่เท่ากันทั้งสองข้าง
ท้าให้ข้อคดงอ
ขายาวไม่เท่ากัน
ท้าให้ตัวเอียงและหลังคด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การผ่าตัด
ความพิการของกระดูกสันหลัง
การตรวจร่างกาย
สังเกตความพิการ
ส่วนสูง/น้ำหนัก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอื่นๆ
X-Ray
อาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง
กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด มักหายใจตื้น
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลำตัว
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
การรักษา
เป้าหมายของการรักษา
ป้องกันไม่ให้เป็นโรคมากขึ้น
แก้ไขหรือลดความพิการ
ป้องกันและลดความปวด
ปรับปรุงสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
ป้องกันภาวะเเทรกซ้อน
แบบอนุรักษ์นิยม
บริหารร่างกาย
กายภาพบำบัด
การผ่าตัด
รักษาความสมดุลของลำตัว
แก้ไขแนวตรงของร่างกาย
รักษาระดับไหล่เเละสะโพก
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะสันหลังคด
แนะนำการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค
บอกผู้ป่วยต้องนอนในหออภิบาลหลังผ่าตัด
อธิบายวิธีการพลิกตัวหลังผ่าตัดโดยให้ไหล่และสะโพกพลิกไปพร้อมกัน
แนะนำให้รายงานอาการผิดปกติต่างๆที่อาจเกิดหลังผ่าตัด
อาการปวด ชา สูญเสียความรู้สึก
สอนและสาธิตวิธีการไอ
แนะนำการใช้หม้อนอน การรับประทานและดื่มบนเตียง
บอกผู้ป่วยให้ทราบวิธีการเตรียมความสะอาดร่างกายทั่วไป
อธิบายให้ทราบว่าหลังผ่าตัดต้องนอนบนเตียงประมาณ 2 สัปดาห์
ให้ผู้ป่วยคุ้นเคยกับเฝือกปูนและการดึงถ่วงน้ำหนัก
ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง โดยสังเกตและประเมินความปวด
ให้ยาปฏิชีวนะและยาลดไข้ตามแผนการรักษา และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
แนะนำการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว
ใส่อุปกรณ์ดัดลำตัวโดยมีเสื้อรองก่อนเพื่อป้องกันการกดทับผิวหนัง
นางสาวกัลยรัตน์ กลิ่นจำปา เลขที่ 5 ห้อง B รหัสประจำตัว 613601113