Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก, ุ, ่, ่, ั - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหักหมายถึง
ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง หรือมีเพียงบางส่วนติดกันหรือเป็นเพียงแตกร้าว
ข้อเคลื่อน
หมายถึง ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า ซึ่งการบาดเจ็บของข้อและกระดูกยังส่งผลให้เนื้อเยื่อที่อยู่โดยรอบกระดูก หลอดเลือด น้้าเหลือง เส้นประสาทและเส้นเอ็นได้รับอันตรายด้วย
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในทารกแรก
เกิดมักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ท้าคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
ส่วนในเด็กโต
อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง จะพบหัวไหล่บวม ช้้า เวลาจับไหล่หรือแขนให้มีการเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด การหักของกระดูก
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
พบบ่อยในเด็กเพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกงอเด็กจะปวดบวมบริเวณข้อศอกอย่างมากพบมากในเด็กก่อนวัยเรียนและวัยเรียน
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส (Transient subluxation of radial head , pulled elbow )
การเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio-humeral ไม่หมด พบได้บ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี
กระดูกปลายแขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่นเกิดจากการกระทำทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
ตำแหน่งที่พบบ่อยคือ บริเวณปลำยล่างๆ หรือส่วนล่ำง 1/3 ของลำกระดูก
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
พบได้ทุกวัยโดยเฉพาะอายุ 2 - 3 ปี ส่วนมากจะเกิดกับเด็กชาย ตำแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา เด็กจะปวด บริเวณข้างที่หัก บวมตรงตำแหน่งกระดูก
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ โดยการสังเกต คลำดูความสัมพันธ์ของอวัยวะ การเคลื่อนไหวของข้อต่าง ๆ การยกขึ้น งอหรือเหยียด ตรวจสอบความตึงตัว อาการเกร็งของกล้ามเนื้อ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา เช่น เข้าเฝือกปูน ดึงกระดูก( traction) ผ่าตัดท้า open reduction internal fixation ( ORIF )
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
1.ด้านร่างกาย
การเตรียมผิวหนังเฉพาะที่
การตรวจวัดสัญญาณชีพ / ผู้ป่วยจะได้รับการตรวจชีพจร เช้า เย็น
การดูแลความสะอาดของร่างกาย อาบน้ำ แปรงฟัน ในเด็กเล็กอาจใส่ผ้าอ้อมสำเร็จรูป การสำรวจว่ามีฟันโยกในเด็ก
การประเมินอาการของระบบประสาท และหลอดเลือด รวมทั้งการบรรเทาอาการรบกวนอย่างต่อเนื่อง
5.การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ / ยา /เอกสารใบเซ็นยินยอม ผล Lab / ผล X-ray
2.ด้านจิตใจ
สภาพแวดล้อมภายในห้องผ่าตัด
ขั้นตอนในการผ่าตัดโดยสังเขป
การปฏิบัติตัวภายหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ มักคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอ ด้านที่เอียงและก้อนจะค่อยๆยุบลงไป การปล่อยให้คอเอียงอาจจะทำให้ศีรษะเบี้ยวไม่สมดุล
การรักษา
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch) จด
ั
ท
่
าใหน
้
อนหงายจด
ัใหห
้
ู
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth)
การผ่าตัดbipolar release ตัดปลายยึดเอ็นเกาะกล้ามเนื้อด้านคอทั้งสองปลาย หลังผ่าตัดใช้อุปกรณ์พยุงคอ
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ: การผ่าตัด ความพิการของกระดูกสันหลัง
2.การตรวจร่างกาย: สังเกตความพิการ ส่วนสูง น้ำหนักแนวลำตัว
3.การตรวจทางห้องปฎิบัติการพิเศษ: X-ray
การรักษา
แบบอนุรักษ์นิยม (Conservation) กายภาพบำบัด บริหารร่างกาย
2.การผ่าตัด เป็นการรักษาสมดุลของลำตัว แก้ไขแนวตรงของร่างกาย รักษาระดับไหล่และสะโพก
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
พบได้มากในเด็กอายุ 6 เดือน –3 ปี จากการขาดวิตามินดี โรคไตที่ทำให้เกิดความผิดปกติของการจับเกาะเกลือแร่ที่กระดูกอ่อน ทำให้ผิดปกติของเนื้อกระดูก
การรักษา
รักษาแบบประคับประครอง ใช้หลักการรักษาแบบกระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ เช่นให้วิตามินดี
Bone and Joint infection
การติดเชื้อในกระดูก(osteomyelitis) และข้อ (septic arthitis) ในเด็กถ้าไม่รักษาอาจเกิดความพิการตามมา
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่ข้อ
พบเชื้อที่เป็นสาเหตุ ถ้าไม่พบMorrey กล่าวว่า ต้องมี อาการ 5 ใน 6 ดังนี้ Tมากกว่า 38.3 องศา มีอาการปวดข้อ ปวดมากเมื่อขยับข้อ ข้อบวม
Osteomyelitis
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงภายนอก หรืออวัยวะใต้เคียง การแพร่กระจายกระแสเลือด
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด เอาหนอง เอาชิ้นเนื้อ กระดุกตายออก
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อตาย
กระทบต่อ physis เป็นส่วนจริญเติบโตของกระดูก ยับยั้งการยาวของกระดูก
ฝ่าเท้าแบน Flat feet
ฝ่าเท้าของคนปกติเมื่อยืนจะมีช่องใต้ฝ่าเท้าเราเรียก arch ในเด็กเล็กจะไม่มี ซึ่งจะเริ่มมีตอนอายุ 3-10 ปี ถ้าโค้งใต้ผ่าเท้าไม่มีเราเรียกเท้าแบนหรือ flat feet
อาการ
ผู้ป่วยอาจจะมีตาปลาหรือผิวเท้าหนากว่าปกติ
รองเท้าผู้ป่วยอาจจะสึกเร็ว
ปวดฝ่าเท้า
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชียวชสยโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ุ
่
่
ั