Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
ความหมาย
กระดูกหัก
ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง หรือมีเพียงบางส่วนติดกันหรือเป็นเพียงแตกร้าว
ข้อเคลื่อน
ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า ซึ่งการบาดเจ็บของข้อและกระดูกยังส่งผลให้เนื้อเยื่อที่อยู่โดยรอบกระดูก หลอดเลือด น้้าเหลือง เส้นประสาทและเส้นเอ็นได้รับอันตรายด้วย
กระดูกเด็กมีลักษณะแตกต่างจากผู้ใหญ่
เยื่อหุ้มกระดูก (periosteum) มีความแข็งแรงและสามารถสร้างกระดูกได้ดีกระดูกหักในเด็กจึงติดเร็ว
เยื่อบุโพรงกระดูก(endosteum) สามารถสร้างกระดูกได้มากและเร็ว เด็กอายุยิ่งน้อยกระดูกยิ่งติดเร็ว
แผ่นเติบโต (growth Plate) มีความอ่อนแอ กว่าเอ็น (tendon),เอ็นหุ้มข้อ (ligament)และเยื่อหุ้มข้อ (joint capsule)เมื่อมีการแตกหักจะหักบริเวณนี้มากกว่า
ปัญหาด้านการวินิจฉัยกระดูกหักในเด็กการตรวจร่างกายอาจไม่แน่ชัดหรือเชื่อถือได้อยาก
5.การบวมของแขน ขาในเด็กจะเกิดขึ้นเร็วภายหลังมีกระดูกหักหรือข้อเคลื่อน แต่การบวมนี้ก็หายเร็ว
6.การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน (ischemic changes) การไหลเวียนของเลือดบริเวณแขน ขา จากการใส่เฝือกหรือพันผ้าแน่นเกินไปต้องระมัดระวังและแก้ไขทันที เพราะอาจเกิด ภาวะ Volk
7.การเจริญเติบโตของเด็กเล็กเริ่มจากการทดแทนกระดูกอ่อนด้วยศูนย์กระดูกปฐมภูมิ (primary ossification center) ต่อมาจะมีการทดแทนกระดูกอ่อนที่ส่วนปลายกระดูกเป็นศูนย์กระดูกทุติยภูมิ(ossification center secondary) ท้าให้กระดูกงอกตามยาว
สาเหตุ
มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุน้ามาก่อนมีแรกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชน ตกจากที่สูง
หรือจากการกระตุ้นทางอ้อม เช่น หกล้ม เอามือยันพื้นกระดูกฝ่ามือไม่แตกกลับไปแตกบริเวณเหนือข้อมือ
เกิดจากกล้ามเนื้อที่เกาะกระดูกถูกฉุดกระฉากแรงเกินไป
และอาจเกิดจากมีพยาธิสภาพของโรคที่ท้าให้กระดูกบางหักแตกหักง่าย เช่น มะเร็งของกระดูก กระดูกอักเสบ
อาการและอาการแสดง
3.รอยจ้้าเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
1.มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
การติดของกระดูกเด็ก
สิ่งที่สร้างขึ้นมา ประสานรอยร้าวหรือรอยแตกของกระดูกมีองค์ประ กอบส้าคัญ
osteoclast
(callus)
(collagen fiber)
การรักษากระดูกเเละข้อที่ต้องได้รับการผ่าตัด
กระดูกหักจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ(avulsion fracture)
กระดูกคอฟีเมอร์หักและเคลื่อน(displaced fracture neck of femur)
กระดูกหักในเด็กตามการแบ่งของ Salter ชนิด Ш , ІV
ข้อเคลื่อนที่มีชั้นกระดูกติดอยู่ในข้อ
กระดูกหักผ่านข้อ (displaceed intra articular fracture)
ข้อเคลื่อนที่ไม่สามารถจัดเข้าที่ได้โดยไม่ผ่าตัด ซึ่งมักเป็นเวลานานกว่า2 สัปดาห์ หรือมีเนื้อเยื่อขวางกั้น
กระดูกมีแผลเปิด (open fracture)
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ
ซักเกี่ยวกับเรื่องการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
การตรวจร่างกาย
ลักษณะของกระดูกหัก
สังเกตว่ามีบาดเเผลหรือมีกระดูกโผล่หรือไม่
ลักษณะของข้อเคลื่อน
ลักษณะที่ข้อเคลื่อนออกจากกันโดยตลอด และข้อที่เคลื่อนออกจากกันเพียงเล็กน้อย โดยที่ยังมีบางส่วนสัมผัสกันอยู่
หลักการรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
เป้าหมายการรักษา
3.1ในระยะแรกจะมุ่งลดความเจ็บปวด อาจช่วยได้โดยให้ยาลดปวดจัดให้กระดูกที่หักอยู่นิ่งๆ โดยใช้เฝือกดาม ไม้ดาม หรือผ้าพันยืด และพยายามจัดกระดูกให้เข้าที่
จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูกให้มีแนวกระดูก (alignment)ที่ยอมรับได้จนกระดูกที่หักติดดี
ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
ให้อวัยวะนั้นกลับท างานได้เร็วที่สุด
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกข้อศอกหัก( Supracondylar fracture )
พบบ่อยในเด็กเพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกงอเด็กจะปวดบวมบริเวณข้อศอกอย่างมากพบบ่อยในเด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียน โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น “ Volkman’s ischemiccontracture ” กระดูกหักบริเวณนี้อาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของกระดูก Humerus
. การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
เป็นการเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio-humeral ไม่หมด พบได้บ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปีเกิดจากการหยอกล้อเเล้วดึงเเขนหรือหิ้วเเขนเด็กขึ้นมาตรงๆ ในขณะที่ข้อศอกเหยียด เเละเเขนท่อนปลายคว่ำมือ
. กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในทารกแรกเกิดมักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ท้าคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
ส่วนในเด็กโต อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง จะพบหัวไหล่บวม ช้้า เวลาจับไหล่หรือแขนให้มีการเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด การหักของกระดูก บริเวณนี้ อาจให้ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้ นานประมาณ 2 - 3 สัปดาห์ ในรายที่กระดูกหักเคลื่อนออก จากกันมากๆควรตรึงแขนด้วย traction ตรึtraction ก็ได้งไว้นาน ประมาณ 3 สัปดาห์ อาจท้า skin traction หรือ skeletal
กระดูกปลายแขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่น เกิดจากการกระท าทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
Crepitus คล้าได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ90 องศา ให้ติดกับล าตัว พันนาน 10-14 วัน ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็กในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา และพันแขนให้ติดกับล าตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าส าลี คล้องแขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur
พบได้ทุกวัย โดยเฉพาะอายุ 2 - 3 ปี ส่วนมากจะเกิดกับเด็กชายมากกว่า เพราะซุกซนกว่า ต้าแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา เด็กจะปวด บริเวณข้างที่หัก บวมตรงต้าแหน่งกระดูกถ้าอายุต่้ากว่า 3 ปี แก้ไขโดยให้ใส่เฝือกขาแบบยาวนาน 3-4 สัปดาห์
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ โดยการสังเกต คลำดูความสัมพันธ์ของอวัยวะ การเคลื่อนไหวของข้อต่าง ๆ การยกขึ้น งอหรือเหยียด ตรวจสอบความตึงตัว อาการเกร็งของกล้ามเนื้อ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
ดึงกระดูก( traction)
ผ่าตัดท้า open reduction internal fixation ( ORIF )
เข้าเฝือกปูน
เข้าเฝือกปูน
การจัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือกภายใน 24 ชั่วโมงซึ่งประเมินได้จาก 5 PS หรือ 6P
Pulselessness ชีพจรเบา,เย็น
Pallorปลายมือปลายเท้าซีด หรือเขียวคล้้า
Paresthesia ชา ขาดความรู้สึก
Pain มีอาการเจ็บมากกว่าเดิม
Puffiness or Swelling มีอาการบวมมากขึ้น
Paralysis เส้นประสาทถูกกด เคลื่อนไหวไม่ได้
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
ระมัดระวังไม่ให้เฝือกเปียกน้้า
แนะน้าเด็กและญาติในการดูแลเฝือก
การดึงกระดูก (Traction)
การดูแลให้การดึงกระดูกมีประสิทธิภาพตลอด
น้าหนักที่ใช้ถ่วงแขวนลอยอิสระไม่แตะพื้นหรือข้างเตียงขณะดึงกระดูกควรจัดท่านอนของเด็กให้ถูกต้องตามชนิดของ Traction
จะต้องไม่เอาน้ าหนักออก หรือถอด traction เองจนกว่าแพทย์สั่ง
ขณะดึงกระดูกควรจัดท่านอนของเด็กให้ถูกต้องตามชนิดของTraction ควรใช้ผ้าตรึงตัวเด็กให้ถูกกับ position ของ traction นั้นๆ
ดูแลแรงดึงสมดุลเพียงพอกับน้ าหนักผู้ป่วย 1/5 ปอนด์ต่อน้ าหนัก 1 กิโลกรัม
สังเกตการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย
รายที่ท า Skeletal Traction ต้องสังเกตอาการติดเชื้อบริเวณที่เหล็กดึงกระดูก
ชนิดของ Traction
Russell’s traction
ใช้ในเด็กโตที่มีFracture shaft of femur หรือ fractureบริเวณ supracondyla region of femur การท้า tractionชนิดนี้อาจเกิดปัญหาการผ้า sling ที่คล้องใต้ขาไปกดเส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณใต้เข่าได้
Skin traction
ใช้ในรายที่มีfacture shaft of femur ในเด็กโต อายุมากกว่า3 ขวบขึ้นไป traction แบบนี้อาจเกิดปัญหาการกด peroneal nerve ท้าให้เกิด foot drop ได้
Dunlop’s traction
ใช้กับเด็กในรายที่มีDisplaced Supracondylar Fractureที่ไม่สามารถดึงให้เข้าท่ได้ หรือมีอาการบวมมาก
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper limb
ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน เป็นการเข้า tractionในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศา กับล้าตัว ในรายที่ผู้ป่วยแขนหักแล้วมีอาการบวมมากยังไม่สามารถ reduce และใส่เฝือกได้
Bryant’s traction
ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก ( fractureshaft of femur ) ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบ หรือน้ำหนักไม่เกิน 13 กิโลกรัม
5.การพยาบาลเพื่อบรรเทาปวด
ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือskin traction พันแน่นเกินไปหรือไม่
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ
จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
กรณีเด็กได้รับการผ่าตัด อาจมีการรัดโดยส าลีพันเฝือกบริเวณข้อศอกข้อเข่า ควรคลาย ส าลีพันเฝือกให้ถึงผิวหนังเด็ก
ประเมินระดับอาการปวดของผู้ป่วย
ผู้ป่วยที่ได้รับการยึดด้วย Kirschner wire ผ่านผิวหนังออกมาข้างนอกเพื่อสะดวกในการถอด ต้องหมั่นท าแผลจนกว่าจะถึงเวลาที่ถอด
การพยาบาลเพื่อให้ค้าแนะน้าการปฏิบัติตัวเมื่อ
กลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อให้แผลหายดี
รักษาสุขภาพ อนามัยให้แข็งแรงอยู่เสมอ และหมั่นออกก าลังกายกล้ามเนื้อและข้อ โดยเฉพาะการก าแบมือบ่อยๆ
ควรสังเกตอาการผิดปกติที่จ าเป็นต้องมาโรงพยาบาลทันที ได้แก่เฝือกมีกลิ่นเหม็น,ปลายมือปลายเท้าชา เขียวคล้ า,มีไข้สูง
ห้ามผู้ป่วยและญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
การดูแลแผลผ่าตัด ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้ าหรือสกปรก
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
Volkmann’ s ischemic contracture
ข้อศอกอาจจะงอ
ข้อมือพับลง (palmar flemion)
แขนอยู่ในท่าคว่ ามือ (pronation)
ข้อ metacarpophalangeal กระดกขึ้น หรือมี extension
นิ้วจะงอทุกนิ้ว
อาจมีอัมพาต ถ้า median nerve หรือ ulnar nerve ถูกทำลาย
กล้ามเนื้อแขนลีบแข็ง
ข้อเกือบทุกข้อจะแข็ง บางรายอาจจะกระดิกได้
กล้ามเนื้อมือลีบ เหมือนกับมีอัมพาต
สาเหต
เลือดเเข็งจับกันเป็นก้อน
งอพับข้อศอกมากเกินไปในขณะที่บริเวณนั้นยังบวมอยู่
ปลายกระดูกหักชิ้นบน เช่น ในรายที่มีการเคลื่อนของกระดูกมาก
จากการเข้าเฝือก เฝือกที่เข้าไว้ระหว่างที่การบวมยังดำเนินอยู่ เมื่อเกิดอาการบวใมขึ้น ขึ้นเต็มที่ เเต่เฝือกขยายออกไม่ได้ เฝือกจึงคับเลือดไหลเวียนไม่สะดวก
ระยะ
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อบวมตึง เเละมีสีคล้ำ เนื่องจากมีเลือดปะปนอยู่ ผิวหนังพอง เนื่องจากกล้ามเนื้อมี fascia หุ้มอยู่ fascia นี้ขยายตัวไม่ได้นักทำให้เกิดการอัดอั้นภายในมาก เป็นเหตุทำให้กล้ามเนื้อถูกทำลายสลายตัว เปลี่ยนสภาพเป็น fibrous tissue เเละหดตัวสั้นทำให้นิ้วมือหงิกงอ
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
การหดตัวเกิดที่กล้ามเนื้อ Pronator เเละ flexor ของเเขนมือ เเละนิ้ว ทำให้นิ้วมือหงิกงอเเละใช้การไม่ได้
ระยะเริ่มเป็น
เจ็บเเละปวด
นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้ การบวมทำให้นิ้วเเข็ง
สีของนิ้วจะขาวซีด หรืออาจจะเป็นสีคล้ำเเต่นิ้วยังอุ่นอยู่
มีอาการชา
บวมเห็นได้ชัดที่นิ้ว
ชีพจรคลำไม่ชัด หรือไม่ได้
วิธีป้องกัน
อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือก จะงอได้มากเเค่ไหนควรใช้การจับชีพจรเป็นหลัก ต้องงอพอที่จะจับชีพจรได้เสมอ
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของเเขนเเล้วพันด้วยผ้าธรรมดา การใช้ Slab จะทำให้เฝือกขยายตัวได้บ้าง ยังไม่ควรใส่ Circular cast
จัดกระดูกให้เข้าที่เร็วที่สุด
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ
มักคลำพบก้อนที่คอด้านที่เอียง เเล้วก้อนจะค่อยๆยุบลงไป การปล่อยให้มีภาวะคอเอียงกะโหลกศรีษะเเละใบหน้าด้านที่กดทับเเบนกว่าอีกข้าง
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ลักษณะผู้ป่วย การซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง
การใช้อุปกรณ์พยุง
การยืดโดยวิธีดัด
การผ่าตัด
ใช้ในกรณีที่ยืดไม่ได้
ภาวะแทรกซ้อน
polydactyly preaxial เป็ น hallux varus
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
พยาธิสรีรภาพ
การเจริญผิดปกติของกระดูกสันหลัง การอัมพาตของกล้ามเนื้อท้าให้กระดูกเจริญเติบโตน้อย ไม่เท่ากันทั้งสองข้าง ท้าให้ข้อคดงอ ขายาวไม่เท่ากัน ท้าให้ตัวเอียงและหลังคด กล้ามเนื้อหลังและหน้าท้องไม่สมดุลกันทั้งสองข้าง
อาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน สะบักไม่อยู่ระดับเดียวกันคือไหล่ข้างหนึ่งสูงกว่าอีกข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจ ากัด มักหายใจตื้น หายใจลึกท าได้ยาก
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออก จะฝ่อลีบและบาง
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวล าตัว ความจุในทรวงอก
มีอาการปวดเมื่อหลังคดมาก
เริ่มมีอาการเเต่ยังอายุน้อย เเสดงว่ามีความพิการมาก
ผุ้ป่วยเอียงไปด้านข้างระยะห่างเเขนกับเอว ม่เท่ากัน
ข้อศอกเเละกระดูกเชิงกรานไม่อยุ่ระดับเดียวกัน