Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบกระดูกและข้อ physiology -…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบกระดูกและข้อ
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
🔹
เกิดจาก
การขาด Vit.Dและไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟตได้
ทำให้กระดูกหักง่ายและผิดรูป
🔹
อาการ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง หลังแอ่น เมื่อเด็กอายุ 1ปีจะมีความผิดรูปของกระดูก
🔹
การรักษา
รักษาแบบประคับประคอง ดูแลกระดูกหักทั่วไป
รักษาจากสาเหตุ เช่น ให้ Vit.D
🔹
การป้องกัน
1.ได้รับแสงสว่างช่วงเช้าและเย็น
2.ทานโปรตีนและแคลเซียม
3.ให้ออกกำลังกายกระตุ้นสร้างกระดูก
4.เลี่ยงการใช้ยาที่ขวางการดูดซึมCa เช่น ยากันชัก
การติดเชื้อในกระดูกและข้อ
(Bone and joint infection)
🔹
การวินิจฉัย
ต้องมีอาการ 5 ใน 6 อย่าง ดังนี้
T > 38.3°C
ปวดข้อ
ปวดมากเมื่อขยับ
ข้อบวม
ตอบสนองดีต่อ ATB
ข้ออักเสบติดเชื้อ
(Septic arthritis)
🔹
วินิจฉัย
อาการ
ไข้ อักเสบ ปวด บวม แดง มักเป็นที่ข้อเข่าและข้อเล็ก ๆ
ผลLab
เจาะดูดน้ำในข้อ มาย้อม Gram stain
ตรวจทางรังสี
Plain film พบระหว่างข้อกว้าง
U/C น้ำในข้อมาก
Bone scan/MRI บอกการติดเชื้อในกระดูก
🔹
การรักษา
ให้ ATB
ผ่าตัด เพื่อระบายหนอง
🔹
ภาวะแทรกซ้อน
Growth plate ถูกทำลาย
ข้อเคลื่อน
ข้อถูกทำลาย
Avascular necrosis
โรคกระดูกอักเสบ (Osteomyelitis)
🔹
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา
🔽
เข้ากระดูก
🔽
จากการทิ่มแทง
🔹
วินิจฉัย
ซักประวัติ
ปวด มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
ตรวจร่างกาย
พบบริเวณนั้นปวด บวม แดง ร้อน
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ESR CRPมีค่าสูง ผลGram stain
culture ขึ้นเชื้อ
ตรวจทางรังสี
Plain film พบเนื้อเยื่อส่วนลึกบวม
MRI พบ Soft tissue abcess
🔹
รักษา
ATB
การผ่าตัด ▶ เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตาย ออก
🔹
ภาวะแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระดูกผิดรูป ยับยั้งการเจริญตามยาวของกระดูก
สมองพิการ (Cerebral palsy)
🔹
สาเหตุ
ก่อนคลอด
ติดเชื้อ
โรคแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ เช่น ความดันโลหิตสูง
อุบัติเหตุ
ระหว่างคลอด/หลังคลอด
คลอดยาก
สมองกระทบกระเทือน
ขาดออกซิเจน
🔹
การเคลื่อนไหว 4 ประเภท
Spastic CP กล้ามเนื้อเกร็งแน่น
Ataxic CP กล้ามเนื้อหดไม่เป็นระเบียบ
Athetoid กล้ามเนื้อไม่ประสานกัน
Mixed CP ผสมกัน
ฝ่าเท้าแบน (Flat feet)
เด็กรายนี้ไม่มี ช่องใต้ฝ่าเท้า
🔸
อาการ
ขึ้นกับความรุนแรงของความแบนราบ
รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
ปวดฝ่าเท้า
🔸
สาเหตุ
1.พันธุกรรม
การเดินผิดปกติ
เอ็นข้อเท้าฉีกขาด
🔸
รักษา
พบแพทย์เฉพาะทาง
ใส่รองเท้าขนาดพอดี
ใส่แผ่นเสริมรองเท้า
ใช้ U/C หรือ laser
บรรเทาปวด
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
🔸
อาการ
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้ำหนักลด
มีไข้
เคลื่อนไหวผิดปกติ
กระดูกหักบริเวณนั้น ๆ
🔸
วินิจฉัย
ซักประวัติ
พบก้อน อาการปวด การเคลื่อนไหว
ตรวจร่างกาย
น้ำหนักลด ตำแหน่งที่พบก้อน
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
MRI CT เพื่อดูการแพร่กระจายโรค
🔸
การรักษา
ตัดก้อนมะเร็งออกให้หมด ป้องกันการแพร่กระจายของโรค
สมองพิการ
(Spastic cerebral palsy)
1. Hemiplegia Spasticity
ของแขนขา ข้างใดข้างหนึ่ง
2. Double Hemiplegia
ทั้ง 2 ข้าง รุนแรงไม่เท่ากัน
3. Total body involvement
แขนขาทั้ง 2 ข้างเท่า ๆ กัน
4. Diplegia
involved มากเฉพาะขาทั้ง 2 ข้าง
5. อื่น ๆ
🔹
รักษา
กายภาพบำบัด
อรรภบำบัด เช่น ฝึกทักษะการสื่อสาร
ใช้ยา
ยากลุ่มdiazepam
ยาฉีด กลุ่ม Botox
วัณโรคกระดูกและข้อ (Tuberculous Osteomyelitis)
🔹
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis
🔽
เข้าปอด
🔽
ผ่าน Lympho-hematogenous
🔽
ภูมิต้านทานของร่างกายทำลาย
🔹
อาการ
เริ่มแสดงอาการหลังติดเชื้อ 1-3 ปี
อาจเป็นที่ตำแหน่งเดียว หรือมากกว่า
กระดูกถูกทำลาย ▶บาง▶แตก ▶ เกิดโพรงหนอง
🔹
วินิจฉัย
อาการ
เพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ไข้ต่ำ ปวดตามตำแหน่งที่เป็น
รักษา
ให้ ATB และ ผ่าตัดเพื่อระบายหนองออก
🔹
ภาวะแทรกซ้อน
หลังค่อม
อัมพาต
ปวดข้อ
ข้อเสื่อม
เท้าปุก (Club foot)
🔹
สาเหตุ
1. Postional clubfoot
เกิดจาก Uterus impaction affect
2. Teratologoc clubfoot
มีความเเข็งมาก พบในSyndrome หลายชนิด
3. Neuromuscular clubfoot
พบทั้งแบบแต่เกิด/ภายหลัง
🔹
วินิจฉัย
Postional clubfoot
ใกล้เคียงปกติ เขี่ยด้านข้างของเท้า ▶สามารถหายได้เอง
Idiopatic clubfoot
ไม่สามารถหายได้เอง
🔹
การรักษา
ดัดและใส่เฝือก นาน 2-3 เดือน และนัดมา F/C
การผ่าตัด
เนื้อเยื่อ อายุ < 3ปี ยืดเอ็นที่ตึง
กระดูก อายุ 3-10 ปี ตกแต่งกระดูก
เชื่อมข้อกระดูก อายุ 10 ปีขึ้นไป
ข้อเท้าจิกลง ส้นเท้าบิดเข้าด้านใน กลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน
🔹
พยาธิสภาพ
การสร้าง Catilage anlage ทำให้กระดูกเท้าผิดปกติ
Joint หดสั้นแข็ง
Tendon เล็กกว่าปกติ
Nerve และ Vessel เล็กกว่าปกติ
ความพิการแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง
(Omphalocele)
ผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้องที่สร้างไม่สมบูรณ์
🔹
อาการ
ตรวจก่อนคลอด U/Cทารกในครรภ์
หลังคลอด พบบริเวณกลางท้องของทารกมีถุง
Omphalocele
ติดกับผิวหนังเป็นรูปโดม
🔹
รักษา
1. Conservative
ใช้สารละลายฆ่าเชื้อ ทำให้ผิวหนังบริเวณขอบถุงเจริญเติบโตมาคลุม เปลี่ยนเป็น Umbilical hernia
เหมาะสำหรับ รายที่ Omphalocele ขนาดใหญ่
2. การผ่าตัด
เย็บผนังหน้าท้องปิดเลย
ผนังหน้าท้องแยกจากกัน (Gastroschisis)
ผิดปกติแต่กำเนิด
🔹
เกิดจาก
การแตกทะลุของ hernia of umbilical cord
ลำไส้สัมผัสกับน้ำคร่ำทำให้ลำไส้บวม
🔹
วินิจฉัย
พบถุงสีขาวขุ่นบาง
ขนาด 4-10 ซม.
🔹
การพยาบาล
การทำแผล
นำ NSS มาเช็ด
และนำ gauze มาปิดไว้
ก่อนผ่าตัด
เฃ็ดทำความสะอาด ลำไส้ส่วนสกปรก
ป้องกันการติดเชื้อ
การเตรียมก่อนผ่าตัด
1.วัดรอบท้อง
เอายาทาเป็นถุงเหนียว
หลังผ่าตัด
ใส่สาย OG เพื่อระบาย gas ลม
Obserb content
สังเกตบริเวณรอบ ๆ แผล
สังเกตอาการท้องอืด