Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูก - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูก
อายุที่พบบ่อยอยู่ในช่วง 6-8 ปี เฉลี่ย 93 ราย และ ช่วงอายุ 12-15 ปี เฉลี่ย 206 ราย
*อายุต่ำกว่า 4 ปี พบน้อย
พบในเพศชายมากกว่สเพศหญิง
สาเหตุส่วนใหญเป็นการหกล้ม
รองลงมาคือตกจากที่สูงและอุบัติเหตุในท้องถนน
ตำแหน่งที่พบบ่อยสุดคือ กระดูกต้นแขนท่อนปลายที่บริเวณเหนือศอก
มักเป็นซีกซ้ายมากกว่าซีกขวา
ข้อเคลื่อน
ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากเบ้า
กระดูกหัก
ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกัน
กระดูกมีลักษณะแตกต่างจากผู้ใหญ่
เยื่อบุโพรงกระดูก
: สามารถสร้างกระดูกได้มากและเร็ว
ปัญหาด้านการวินิจฉัยกระดูกหักในเด็กการตรวจร่างกายอาจไม่แน่ชัด
:
เยื่อหุ้มกระดูก
: มีความแข็งแรงและสามารถสร้างกระดูกได้ดี
การบวมของแขน
: ขาในเด็กจะเกิดขึ้นเร็วภายหลังมีกระดูกหักหรือข้อเคลื่อน
แผ่นเติบโต
: มีความอ่อนแอกว่าเอ็น,เอ็นหุ้มข้อและเยื่อหุ้มข้อ เมื่อมีการแตกหักบริเวณนี้มากกว่า
กรเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน
: หากใส่เฝือกและรัดแน่นต้องรีบแก้ไขเพราะอาจเกิดภาวะ
Volkman's ischemic contracture
อาการแสดง
บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหัก
รอยจ้ำเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในชึ้นมายังผิวหนัง
มีอาการปวดและกดเจ็บ
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
สาเหตุ
มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุนำก่อนมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง
การติดของกระดูกเด็ก
หลังกระดูกหักเนื้อเยื่อที่ถูกทำลายจะมการรวมตัวของก้อนเลือดตรงตำแหน่งปลายหักของกระดูกเพื่อเป็นฐานทำให้เกิดการสร้างเนื้อเยื่อใหม่
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย
ลักษณะของกระดูกหักว่าเป็นชนิดมีบาดแผลหรือไม่มีบาดแผล
ลักษณะของข้อเคลื่อน มี2ลักษณะ คือลักษณะที่ข้อเคลื่อนออกจากกันโดยตลอดและข้อเคลื่อนที่เคลื่อนออกจากกันเพียงเล็กน้อย
การตรวจรังสี
ซักประวัติ
กระดูกที่ต้องรักษาโดยการผ่าตัด
กระดูกคอฟีเมอร์หักและเคลื่อน
กระดูกในเด็กตามการแบ่งของ Salter
กระดูกหักจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ
ข้อเคลื่อนที่มีชั้นกระดูกติดในข้อ
กระดูกหักผ่านข้อ
ข้อเคลื่อนที่ไม่สามารถจัดเข้าที่ได้โดยไม่ผ่าตัดเป็นเวลานานกว่า2สัปดาห์
กระดูกมีแผลเปิด
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก
เกิดขึ้นกับเด็กมากที่สุด โดยเฉพาะเด็กอายุต่ำกว่า10ปี
อาการแสดง
Crepitus
คลำได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
Pseudopalysis
ขยับได้เล็กน้อย ไหล่ตก
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็ก
จะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ90องศาให้ติดกับตัวนาน10-14วัน
ในเด็กอายุมากกว่า3ปี
อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ90องศา และพันแขนให้ติดกับลำตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าสำลี คล้องไว้ประมาณ2-3สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก
ในทารกแรกเกิด
มักเกิดนรายที่คลอดติดไหล่
ในเด็กโต
อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง จะพบไหล่บวม ช้ำ การหักบริเวณนี้จะใช้ผ้าคล้องแขนไว้นาน2-3สัปดาห์
กระดูกหักเคลื่อนออกจากกันมากควรตรึงแขนด้วย Traction ตรึงไว้นาน3สัปดาห์
กระดูกข้อศอกหัก
พบบ่อยในเด็กเพราะเด็ฏพลั้งตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย พบได้มากในเด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียน
โรคแทรกซ้อน
Volkman's ischemic contracture
ในรายที่หักแบบ greenstick อาจใส่เฝือกแบบ posterior plaster splint ประมาณ 1 สัปดาห์เมื่อยุบบวม จึ่งเปลี่ยนเฝือกพันต่ออีก2-3 สัปดาห์
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
พบได้บ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี
เกิดจากการหยอกล้อ แล้วดึงแขนหรืแหิ้วแขนเด็กขึ้นมาตรงๆ
กระดูกปลายแขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่น เกิดจากกระทำทางอ้อม
ตำแหน่งที่พบบ่อย คือ บริเวณปลายล่างๆหรือ 1/3 ของลำกระดูก
กระดูกต้นขาหัก
พบได้ทุกวัย โดยเฉพาะอายุ2-3ปี ส่วนมากเกิดกับเด็กผู้ชาย
ตำแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด
ข่ายประสาทเป็นการรวมตัวของรากไขสันหลัง เมื่อมีภยันตรายต่อข่ายประสาทมีผลให้เกิดอาการแขนอ่อนแรง
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด
ภาวะคลอดติดไหล่
เด็กมีน้ำหนักมากและการคลอดที่ใช้เวลานาน
การคลอดท่าก้น
การพยาบาล
1.การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บนิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
2.เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
3.จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
ดึงกระดูก
ดูแลให้การดึงกระดูกมีประสิทธิภาพตลอด
ดูแลแรงดึงสมดุลเพียงพอกับน้ำหนักผู้ป่วย 1/5 ปอนด์ต่อน้ำหนัก1กิโลกรัม
น้ำหนักที่ใช้ถ่วงแขวนลอยอิสระไม่แตะพื้นหรือข้างเตียง
ขณะดึงควรจัดท่านอนให้ถูกต้องตามชนิด Traction
สังเกตการไหลของเลือดส่วนปลาย
จะต้องไม่เอาน้ำออกหรือถอดTraction เองจนกว่าแพทย์จะสั่ง
รายที่ทำ Skeletal Traction ต้องสังเกตอาการติดเชื้อบริเวณที่เหล็กดึงกระดูก
ชนิดของ Traction
Dunlop's traction
ใช้กับเด็กในรายที่มี Displaced Supracondylar Fracture ที่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่ได้หรือในรายที่มีอาการบวมมาก
Skin traction
ใช้ในรายที่มี Facture shaft of femur ในเด็กโต อายุมากกว่า3ขวบขึ้นไป
อาจเกิดปัญหาการกด peroneal nerve ทำให้เกิด foot drop ได้
Over Head traction
ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน เป็นการเข้า Traction ในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศากับลำตัว
Russell's traction
ใช้ในเด็กโตที่มี Facture shaft of femur บริเวณ Supracondyla region of femur อาจเกิดปัญหาการพันผ้า sling ที่คล้องใต้ขาไปกดเส้นเลือดและเส้นประสาท
Bryant's traction
ใช้ในเด็กที่กระดูกต้นขาหักตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุไม่เกิน2ขวบหรือน้ำหนักไม่เกิน13กิโลกรัม
ผ่าตัดทำ ORIF
เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว้
เข้าเฝือกปูน
จัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือกภายใน24ชม.
ประเมินจาก 5PS หรือ 6P
Paresthesia
ชา ขาดความรู้สึก
Paralysis
เส้นประสาทถูกกด เคลื่อนไหวไม่ได้
Pallor
ปลายมือปลายเท้าซีดหรือเขียวคล้ำ
Pain
มีอาการเจ็บหนักมากกว่าเดิม
Pulselessness
ชีพจรเบา,เย็น
Puffiness or Swelling
มีอาการบวมมากขึ้น
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้อยู่สูง
ระวังไม่ให้เฝือกเปียกน้ำ
1.ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ
การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
ด้านร่างกาย
การดูแลทำความสะอาดร่างกาย อาบน้ำ แปรงฟัน เป็นต้น
V/S, ประเมินอาการทางระบบประสาท, การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ยา เป็นต้น
เตรียมผิวหนังเฉพาะที่
ด้านจิตใจ
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นตอนในการผ่าตัดโดยสังเขป
สภาพแวดล้อมภายในห้องผ่าตัด
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
การประเมินระดับความเจ็บปวด
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด
ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
ลดอาการท้องผูก กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหว
กระตุ้นให้เด็กหายใจเข้าออกลึกๆแรงๆเพื่อให้ปอดขยายตัว
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ ด้วยการเปลี่ยนท่าทุก2ชม.
ประเมินอาการที่บ่งชี้ถึงภาวะแทรกซ้อน
ป้องกันและลดอาการข้อติดแข็ง
การพยาบาลเพื่อบรรเทาอาการปวด
ประเมินระดับความปวด
ให้ยาแก้ปวด
จัดท่านอนให้ผู้ป่วย
ผู้ป่วยที่ได้รับการยึด
Kirschner wire
ผ่านผิวหนังออกาข้างนอก ควรทำแผลจนกว่าจะถึงเวลาถอด
การพยาบาลเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ควรสังเกตอาการผิดปกติ เช่น มีไข้ ผิวหนังเขียวคล้ำ
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
ห้ามแกะหรือเอาเฝือกออกเอง
หมั่นออกกำลังกายกล้ามเนื้อและข้อ
ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำหรือสกปรก
โรคแทรกซ้อน
Volkmann's ischemic contracture
ลักษณะรูปร่างของนิ้ว มือ และแขน
นิ้วจะงอทุกนิ้ว
อาจมีอัมพาต
ข้อศอกอาจจะงอ
กล้ามเนื้อแขนลีบแข็ง
แขนอยู่ในท่าคว่ำมือ
ข้อเกือบทุกข้อจะเเข็ง
ข้อมือพับลง
สาเหตุ
เลือดแข็งจับตัวเป็นก้อน
จากการใส่เฝือก
งอพับข้อศอกมากไป
ระยะต่างๆ
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
บวม ตึง แข็ง มีสีคล้ำ
ข้อนิ้วและข้อนิ้วมือแข็ง
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
มือและนิ้วหงิกงอ
ใช้การไม่ได้
ระยะเริ่มเป็น
นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้
มีอาการชา คลำชีพจรไม่ได้
บวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว เจ็บและปวด
วิธีป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่เร็วที่สุดขณะที่หักเกิดขึ้นใหม่ๆ
อย่างอข้อศอกมากไป
คำแนะนำ
ยกบริเวณที่หักให้สูงกว่าระดับหัวใจตลอดเวลา
ถ้ามีอาการบวมมากควรรีบปรึกษาแพทย์
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ
คลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง
ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศีรษะบิดเบี้ยว
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่สั้น
ยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง
ใช้อุปกรณ์ช่วยพยุง
ยืดโดยการดัด
การผ่าตัด
การผ่าตัด Bipolar release ตัดปลายเอ็นยึดเกาะกับ
กล้ามเนื้อด้านคอทั้ง2ปลาย หลังผ่าตัดเสร็จต้องใช้อุปกรณ์ช่วยพยุงคอ
กระดูกสันหลังคด(Scoliosis)
อาการแสดง
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลำตัว
มีอาการปวดเมื่อยหลังคดมาก
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด หายใจตื้น
อายุยิ่งน้อยความพิการจะยิ่งมาก
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง
การรักษา
รักษาไม่ผ่าตัด
การใส่อุปกรณ์ดัดตัว(Brace)
รักษาแบบผ่าตัด
จัดกระดูกสันหลังให้เข้าที่และเชื่อมข้อกระดูกสันหลังให้ตรง โดยการโรยกระดูกให้เชือ่มกัน
การพยาบาล
แนะนำการใช้หม้อนอน
อธิบบายให้ทราบหลังผ่าตัดต้องนอนบนเตียง2สัปดาห์
อธิบายการพลิกตัว
โดยให้ไหล่กับสะโพกพลิกไปพร้อมกัน
ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวด โดยสังเกตและประเมินความเจ็บปวด
ต้องนอนในหออภิบาล
ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและการเกิดแผลกดทับ
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค
Polydactyly
ภาววะแทรกซ้อน
Hallux varus
การรักษา
ผ่าตัด
ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ