Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ที่มีภาวะวิกฤติทางด้านอารมณ์, นายอิบรอฮิม สิเดะ เลขที่ 88 - Coggle…
ผู้ที่มีภาวะวิกฤติทางด้านอารมณ์
ประเภทของภาวะวิกฤติ
สถานการณ์วิกฤติ (Situational crisis) เกิดขึ้นเมื่อเหตุการณ์ภายนอก
ท่าให้อารมณ์ไม่ดีเสียความสมดุลของจิตใจ
พัฒนาการวิกฤติหรือวัยวิกฤติ (Maturation crisis) หมายถึงเหตุการณ์วิกฤติ
ที่เกิดขึ้นตามช่วงวัยต่าง ๆ ของกระบวนการเจริญเติบโต
ภาวะวิกฤติจากภัยพิบัติธรรมชาติ (Adventitious crisis) เช่น ไฟไหม้บ้าน
อุทกภัย แผ่นดินไหว หรือเกิดสึนามิ การเกิดสงคราม เป็นต้น
ปฏิกิริยาตอบสนองต่อภาวะวิกฤต
มีความวิตกกังวล (Anxiety)
มีความรู้สึกหมดหนทาง (Helplessness)
มีความรู้สึกผิดและละอาย (Guilt and shame)
ความโกรธ (Anger)
ความลังเล (Ambivalence)
ลำดับขั้นตอนของภาวะวิกฤติ
ระยะก่อนวิกฤติ (Precrisis period) บุคคลไม่มีความเครียดทั้งทางร่างกายและอารมณ์
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงหรือมีเหตุการณ์ที่สำคัญเกิดขึ้น
ระยะวิกฤติ (Crisis period) เมื่อบุคคลพบว่าตนเองอยู่ในภาวะวิกฤติก็จะท่าอะไร
สับสนยุ่งเหยิง (disorganization) จะแสดงความวิตกกังวลออกมา รู้สึกหมดหนทางและความรู้สึกอื่น ๆ
ระยะหลังภาวะวิกฤติ ระยะนี้หากบุคคลสามารถปรับตัวให้ผ่านพ้นไปได้ บุคคลก็จะเกิดประสบการณ์
ในการปรับตัวเพิ่มมากขึ้น สามารถเข้าใจชีวิตมากขึ้น และเรียนรู้กลวิธีในการเผชิญปัญหาของตนเอง
การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะวิกฤติ
การประเมินปัญหาของบุคคลที่มีภาวะวิกฤติ
1.1 ระดับความรุนแรงของปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย
1.2 ระดับความรุนแรงของอาการทางกายที่เป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อภาวะวิกฤติ
1.3 ตรวจสอบการใช้กลไกทางจิต หรือกลวิธีที่ใช้ในการเผชิญปัญหา
1.4 ประเมินบุคลิกภาพเดิม ระดับความอดทน และความเข้มแข็ง
ของผู้ป่วยต่อเหตุการณ์วิกฤติที่มากระตุ้น
1.5 ประเมินแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคมของผู้ป่วย
1.6 ประเมินสิ่งยึดเหนียวทางจิตวิญญาณ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
จะมุ่งเน้นการลดความเครียด หรือผลกระทบจากภาวะวิกฤติของบุคคล และการช่วยให้บุคคลมีพฤติกรรมการปรับตัวที่เหมาะสม สามารถกลับมาด่าเนินชีวิตประจำวันได้ตามปกติ โดยอาจกำหนดเป้าหมายระยะสั้น และเป้าหมายระยะยาว
กิจกรรมทางการพยาบาล
3.1 การลดความเครียดที่มีต่อภาวะวิกฤต
3.2 ลดหรือป้องกันอาการและอาการแสดงทางกาย ที่เป็นผลมาจากภาวะวิกฤติ
3.3 สอนและฝึกทักษะในการเผชิญปัญหา เพื่อปรับบุคลิกภาพ
ให้เข้มแข็งมากขึ้น เมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์วิกฤติของชีวิต
3.4 ส่งเสริมการแสวงหาแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือ และเตรียมความพร้อม
แหล่งสนับสนุนช่วยเหลือทางสังคมของผู้ป่วยให้เพียงพอและเหมาะสม
นายอิบรอฮิม สิเดะ เลขที่ 88