Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.1 ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
บทที่ 4.1 ความผิดปกติของการตั้งครรภ์
ภาวะปริมาณน้ำคร่ำผิดปกติ
ภาวะน้ำคร่ำน้อย (Oligohydramnios)
สาเหตุ
-
การอุดตันของระบบทางเดินปัสสาวะของทารก
ภาวะไตฝ่อทั้งสองข้าง (renal agenesis)
ทารกมีความผิดปกติของโครโมโซม เช่น trisomy 13 triploidy เป็นต้น
รกเสื่อมสภาพ (utero-placental insufficiency; UPI)
ทารกพิการโดยกำเนิด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ประวัติมีน้ําเดินออกทางช่องคลอด
มีภาวะความดันโลหิตสูงในระหว่าง ตั้งครรภ์
ประวัติทารกในครรภ์เคลื่อนไหวน้อย
การตรวจร่างกายและหน้าท้อง
จะคลําส่วนของทารกได้ง่าย
มักจะไม่สามารถทํา Ballottement ของศีรษะทารกในครรภ์ได้
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยการวัดดัชนีน้ําคร่ํา AFI 4 5
การพยาบาล
การรักษาภาวะเจริญเติบโตช้า และตรวจดูความพิการแต่กําเนิดของทารกในครรภ์ จากการ U/S มีการรักษาภายในครรภ์โดยการใส่สายเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะของทารก ในกรณีที่มีการ อุดตันอยู่ต่ําบริเวณท่อปัสสาวะ จะช่วยลดภาวะไตบวมน้ํา และทําให้ไตทารกไม่เสียมาก
การใส่น้ําเกลือไอโซโทนิค เข้าไปในถุงน้ําคร่ําในปริมาณที่พอเหมาะ ไม่เกินครั้งละ 200 มล. หรือในปริมาณที่ทําให้ความดันภายในถุงน้ําคร่ํากลับสู่ปกติ (ค่าความดันภายในถุงน้ําคร่ําเท่ากับ 1-14 มิลลิเมตรปรอท)
ภาวะน้ำคร่ำมาก (Polyhydramnios)
อาการ
คลำส่วนของทารกทางหน้าท้องได้ไม่ชัดเจน
ฟังเสียงหัวใจทารกไม่ชัดเจน
คลำมดลูกทางหน้าท้องได้ขนาดโตกว่าระยะเวลาของการขาดประจำเดือน
ตรวจพบเป็นคลื่นน้ำทางหน้าท้อง (Fluid thrill)
มีอาการแน่นอึดอัดท้อง หายใจลำบาก
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางหน้าท้อง
การตรวจทางช่องคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การวัดดัชนีในน้ำคร่ำ AFI
การซักประวัติ
เคยตั้งครรภ์แฝด
มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์
สาเหตุ
มารดาที่ตั้งครรภ์เป็นเบาหวาน
ทารกครรภ์แฝด
ทารกในครรภ์มีความผิดปกติแต่กำเนิด
ทารกมีภาวะติดเชื้อในครรภ์
ไม่ทราบสาเหตุ
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ถ้าพบความผิดปกติของทารก อาจสิ้นสุดการตั้งครรภ์
ถ้าไม่พบความผิดปกติของทารก แพทย์ใช้เข็มเจาะทางหน้าท้องมารดาให้น้ําคร่ําไหลออกเองช้าๆ
รักษาโรคหรือาวะผิดปกติที่มีร่วม
U/S เพื่อตรวจสอบพัฒนาการของทารกในครรภ์
ให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
ให้นอนพัก หากแน่นอึดอัดท้องให้นอนศีรษะสูง
การให้ยา Indomethacin ขนาด 1.5-3 มก./กก./วัน
ระยะเจ็บครรภ์
อาจเกิดการตกเลือดหลังคลอดจากรกไม่ลอกตัว หรือมดลูกหดรัดตัวไม่ดีหลังรกคลอด ป้องกัน โดยการฉีด Methergin หรือ Oxytocin หลังทารกคลอด
เมื่อทารกอยู่ในท่าผิดปกติหรือภาวะสายสะดือย้อยให้จัดการช่วยคลอด โดยการผ่าตัดทารกออกทางหน้าท้อง
การคลอดจะดําเนินไปตามปกติ
ภาวะทารกเจริญเติบโตช้า (Fetal Growth Restriction)
สาเหตุ
สาเหตุจากมารดา เช่น น้ําหนักก่อนตั้งครรภ์, น้ําหนักที่ขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์, BMI
สาเหตุจากตัวทารก multiple fetuses, chromosome abnormalities
สาเหตุจากรก poor placental perfusion, placental disorder
การวินิจฉัย
การตรวจโดยใช้คลื่นเสียงความถี่สูง
การตรวจร่างกาย
การวินิจฉัยหลังคลอด
การจําแนก
Asymmetrical IUGR ทารกในกลุ่มนี้จะมีขนาดเล็กในทุกระบบอวัยวะ ยกเว้นขนาดศีรษะที่ปกติหรือมีผลกระทบน้อย
Combined type หมายถึง ทารกที่มีการเจริญเติบโตช้าแบบผสมผสาน
Symmetrical IUGR ทารกในกลุ่มนี้จะมีอัตราการเจริญเติบโตที่ช้าในทุกอวัยวะ
แนวทางการดูแลรักษา
Screening for risk factors สตรีตั้งครรภ์ทุกราย
การซักประวัติ เพื่อดูการตั้งครรภ์ในครรภ์ที่ผ่านมา
ควรมีการตรวจวัด fundal height (FH) ทุกครั้งที่มาทําการฝากครรภ์ตั้งแต่อายุครรภ์ 24 สัปดาห์ขึ้นไป
การตรวจติดตาม ultrasonography เพื่อประเมินอัตราการเจริญเติบโตของทารก
การดูปริมาณน้ําคร่ํา
การตั้งครรภ์เกินกำหนด (Postterm pregnancy)
สาเหตุ
สาเหตุของการตั้งครรภ์เกินกำหนดยังไม่ทราบแน่ชัด แต่อาจเกิดจากความผิดปกติของทารกในครรภ์
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ 42 สัปดาห์เต็ม (294 วัน)
ปัจจัย
ครรภ์แรก (Nulliparity) พบได้มากกว่าครรภ์หลัง
มีประวัติเคยตั้งครรภ์เกินกำหนดมาก่อน
ดัชนีมวลกายก่อนตั้งครรภ์ (Prepregnancy body mass index : BMI)
การรักษา
การชักนําการคลอด
1.ตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ก่อนคลอด
Biophysical profile (BPP) หรือ Modified BPP
Contraction stress test (CST)
Non stress test (NST)
การวัดปริมาณน้ําคร่ําด้วยการตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง Ultrasound