Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด 3ffc4c8b0, นางสาวสุนันทา ทาตะวงค์…
ส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาทารกหลังคลอด
Attachment สัมพันธภาพ ความรู้สึกรักใคร่ผูกพันระหว่างทารกกับพ่อแม่หรือผู้เลียงดู
Bonding (ความผูกพัน) กระบวนการผูกพันทางอารมณ์ที่พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู มีต่อทารกฝ่ายเดียว
การพัฒนาสัมพันธภาพในระยะหลังคลอด
ในระยะแรกหลังคลอดทันทีมารดาจะแสดงความรักความผูกพันธ์กับลูกตั้งแต่นาทีแรกหลังคลอดจนกระทั่งถึง 1 ชั่วโมงแรกหลังคลอด เป็นช่วงเวลาที่มารดามีความรู้สึกไวที่สุด Sensitive period และทารกมีความตื่นตัวจึงเป็นช่วงเวลาสำคัญที่ก่อให้เกิดความรักใคร่ผูกพันระหว่างมารดาและทารก
กระบวนการพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ระยะก่อนตั้งครรภ์
ขั้นที่ 1การวางแผนการตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
ขั้นที่ 2 การยืนยันการตั้งครรภ์
ขั้นที่ 3 การยอมรับการตั้งครรภ์
ขั้นที่ 4 การรับรู้การเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์
ขั้นที่ 5 การยอมรับว่าทารกในครรภ์เป็นบุคคลคนหนึ่ง
ระยะคลอดและระยะหลังคลอด
ขั้นที่ 6 การสนใจดูแลสุขภาพตนเองและทารกในครรภ์และการแสวงหาการคลอดที่ปลอดภัย
ขั้นที่ 7 การมองดูทารก
ขั้นที่ 8 การสัมผัสทารก
ขั้นที่ 9 การดูแลทารกและให้ทารกดูดนม
บทบาทของพยาบาลผดุงครรภ์ในการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ระยะตั้งครรภ์
ยอมรับการตั้งครรภ์
ครอบครัวคอยให้กำลังใจ
การปรับบทบาทการเป็นบิดามารดา
ยอมรับความเป็นบุคคลของทารกในครรภ์
กระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์
ระยะคลอด
ให้ข้อมูล เป็นสื่อกลางระหว่างผู้คลอดและครอบครัว
ลดความวิตดกังวลของผู้คลอด
ส่งเสริมให้การคลอดผ่านไปอย่างปลอดภัย
สร้างบรรยากาศให้เกิดความไว้วางใจ
ระยะหลังคลอด
ส่งเสริมให้มารดาสัมผัสโดยการกอดทารกทันทีหลังคลอด ในระยะ Sensitive period
Rooming in โดยเร็วที่สุด
ให้คำแนะนำในการดูแลบุตร
ตอบสนองความต้องการของมารดา
กระตุ้นให้มีปฏิสัมพันธ์กับทารก
เป็นตัวแบบในการสร้างสัมพันธภาพกับทารก
ให้มารดา ทารก บิดา ได้อยู่ด้วยกันตามลำพัง
พฤติกรรมปฎิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารกในระยะแรกเกิด
1.การสัมผัส (Touch, Tactile sense)
ความสนใจขดงมารดาในการสัมผัสบุตร โดยจะเริ่มสัมผัสบุตรด้วยการใช้นิ้วสัมผสัแขน ขา จากนั้นจะบีบนวดสัมผัสตามล าตัว ทารกจะมีการจับมืดและดึงผมมารดาเป็นการ ตดบสนดง
2.การประสานสายตา (Eye to eye contact)
พัฒนาการด้าน ความเชื่ดมั่น ความไว้วางใจ และความสัมพันธ์กับบุคคลดื่น มารดาจะรู้สึกผกูพนัใกลช้ิด มากขึ้นเมื่ดทารกลืมตาและสบตาตนเดง
3. การใช้เสียง (Voice)
การตอบสนองเริ่มทันทีที่ทารกเกิด มารดาจะรดฟังเสียงทารกร้ดง ครั้งแรก เพื่ดยนืยนัภาวะสุขภาพขดงทารก
4. การเคลื่อนไหวเป็นจังหวะตามเสียงพูด (Entrainment)
ทารกจะเคลื่ดนไหวส่วนต่างๆ ขดงร่างกายเป็นจังหวะสัมพันธ์กับเสียงพูดสูงต ่าขดงมารดา
5. จังหวะชีวภาพ (Biorhythmcity)
หลังคลดดทารกจะต้ดงปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดลด้ม ภายนดกที่แตกต่างจากในครรภ์ขดงมารดา มารดาจะช่วยทารกให้สร้างจังหวะชีวภาพได้ โดยขณะที่ทารกร้ดงไห ้มารดาดมุ้ทารกไวแ้นบดก ทารกจะรับรู้เสียงการเตน้ขดงหวัใจ มารดา ซ่ึงทารกจะคุ้นเคยตั้งแต่ในครรภ์ ท าให้ทารกมีความรู้สึกมั่นคงยิ่งขึ้น
6. การรับกลิ่น (Odor)
มารดาจากลิ่นกายขดงทารกได้ตั้งแต่แรกคลอด และแยกกลิ่น ทารกออกจากทารกดื่นได้ภายใน 3-4 วันหลัง คลอด ส่วนทารกสามารถแยกกลิ่นมารดา และหันเข้าหากลิ่นน้ำนมมารดาได้ภายในเวลา 6 –10วนัหลังคลอด
7. การให้ความอบอุ่น (Body warmth หรือ Heat)
มีการศึกษาพบว่า หลังทารก คลดดทันที ได้รับการ เช็ดตัวให้แห้ง ห่ดตัวทารกและน าทารกให้มารดาโดบกดด ทนัที ทารกจะไม่เกิดการสูญเสียความร้ดน และทารกจะเกิดความผ่ดนคลายเมื่ด ได้รับความดบดุ่นจากมารดา
8. การให้ภูมิคุ้มกันทางน ้านม (T and Blymphocyte)
ทารกจะได้รับภูมิคุ้มกันใน นมแม่ ได้แก่T lymphocyte, Blymphocyte และ Immunoglobulin A ช่วย ป้ดงกันและทำลายเชื้อโรคในระบบทางเดินอาหาร
9. การให้ภูมิคุ้มกันทางเดินหายใจ (Bacterianasal flora)
ขณะที่มารดาดุ้ม โดบกอดทารก จะมีการถ่ายทอดเชื้ดโรคในระบบทางเดินหายใจ (normal flora) ของมารดาสู่ทารกเกิดภูมิคุ้มกันช่วยป้องกันทารกติดเชื้อจากสิ่งแวดล้อมภายนอก
พฤติกรรมของมารดาและทารกที่แสดงถึงการขาดสัมพันธภาพ (Lack of attachment)
ไม่ตอบสนดงต่อบุตร เช่น ไม่สัมผัส ไม่ยิ้ม ไม่ดุ้มกอดทารก
พดูถึงบุตรในทางลบ
ไม่สนใจมองบุตร สีหน้าเมินเฉยหรืดหนัหน้าหนี
แสดงท่าทางหรืดคำพูดที่ไม่พึงพอใจขณะดูแลบุตร
ขาดความสนใจในการซักถามเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุตรและการเลี้ยงดูบุตร
การประเมินสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
พฤติกรรมปฏิสัมพนัธ์ระหว่างมารดาและทารก
ความสามารถในการปฏิบตัิบทบาทการเป็นมารดา
ความสนใจในการดูแลตนเดงขดงตนเดงและทารก
ความสามารถในการตดบสนดงความตด้งการขดงทารก
นางสาวสุนันทา ทาตะวงค์ เลขที่ 64 ห้องB รหัสนักศึกษา 613020111613