Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
พบมากในเด็กอายุ 6- 3 ปี จากการขาดวิตามินดี โรคไตที่ทำให้เกิดความผิดปกติของการจับเกาะเกลือแร่ที่กระดูกอ่อน ทำให้เกิดความผิดปกติของเนื้อกระดูก ทำให้กระดูกหักง่าย ผิดรูปมีผลต่อพัฒนาการเด็ก
ความหมาย
โรคเมตาบอลิซึมของกระดูกที่พบในเด็ก ความบกพร่องในการจับเกาะเกลือแร่บนเนื้อกระดูกอ่อน
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญวิตามินดี
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้ ดูดซึม แคลเซียมกลับได้น้อย ท้องเดินเรื้อรัง หรือรับประทานสารที่ขัดขวางการ ดูดซึมของแคลเซียมและวิตามินดี เช่น อะลูมิเนียมไฮดรอกไซค์ บาร์บิทูเรต
โรคไตบางชนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเวียมและฟอสเฟต เช่น Renal Tubular Insufficiency และ Chronic renal Insufficiency
ภาวะฟอสเฟตต่ำ (Hypophosphatasia) จากขาด Alkaline Phosphatase ซึ่งเป็นตัวสำคัญที่ทให้เกิดการจับเกาะของเกลือแร่
อาการและอาการแสดง
กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า ส่วนหลังของกะโหลกแบบราบลง หรือกะโหลกนิ่ม หน้าผากนูน ฟันขึ้นเยอะ ผมร่วง
หลังหนึ่งขวบแล้วจะพบความผิดรูปมากขึ้น พบขาโก่ง ขาฉิ่ง กระดูกสันหลังคดหรือหลังค่อม ท่าเดินคล้ายเป็ด อาจเกิดกระดูกหักได้
การรักษา
แบบประคับประคางใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ เข่น ให้วิตามินดี
การป้องกัน
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
รับประทานอาหารโดยเฉพราะโปรตีนและแคลเซียม
ให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อวันต่อน้ำหนักตัวสำหรับเด็กคลอดก่อนกำหนด
ให้ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม เช่น ยากันชัก ยาลดกรด ยาเตรทตราชยัคลิน ยาระบาย ยาขับปัสสาวะ
Bone and Joint infection
การติดเชื้อในกระดูก (osteomyelitis)และข้อ (septic arthritis ) ถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องอาจทำให้เกิดความพิการตามมาได้
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่ข้อ
ต้องมีอาการ 5 ใน 6 ดังนี้
อุณหร่างกาย > 38.3 องศาเซลเซียส
มีอาการปวดข้อ
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
ข้อบวม
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่นๆร่วมด้วย
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
Osteomyelitis
พบในเด็กอายุน้อยกว่า 13 ปี พบมีการติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาวมากที่สุด เช่น femur , tibia , humerus
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย,เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก หรือจากอวัยวะใกล้เคียง การแพร่กระจายจากกระแสเลือด
การวินิจฉัย
ประวัติ
มีอาการปวด เด็กเล็กแสดงออกโดยไม่ใช้แขน ขา ส่วนนั้น ทารกนอนนิ่งไม่ขยับแขนขาข้สงที่เป็น (psrudoparalysis) เด็กโตบอกตำแหน่งที่ปวดได้ อาการไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร อาจมีการบาดเจ็บเฉพาะที่ร่วมด้วย)
การตรวจร่างกาย
มีปวด บวม แดง ร้อนเฉพาะที่ บริเวณที่มีพยาธิสภาพอาจมีความผิดปกติ ปวด ปวดมากขึ้นถ้ากดบริเวณนั้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผล CBC พบ Leucocytosis, ESR,CRP มีค่าสูง ผล Gram stain และ culture ขึ้นเชื้อที่เป็นสาเหตุ
การตรวจทางรังสี
Plain film พบเนื้อเยื่อส่วนบึกบวม โดยเฉพาะบริเวณ metaphysic Bone scan ได้ผลบวก บอกตำแหน่งได้เฉพาะ
MRI พบ soft tissue abcess,bone marrow edema ค่าใช้จ่ายสูง ในเด็กเล็กๆต้องทำตอนเด็กหลับ
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัดเอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อ physics เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดูก ทำลาย physalis plate ยับยั้งการเจริญของกระดูกตามยาว ทำให้กระดูกส่วนนั้นสั้น มีการโก่งผิดรูปของกระดูก อาจต้องผ่าตัดเพื่อยืดกระดูกให้ยาวขึ้น
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
สาเหตุ
เชื้อMycobacteriumtuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ จากการไอ จามของผู้ป่วย
อาการและอาการแสดง
เริ่มแสดงอาการหลังการติดเชื้อประมาณ 1-3 ปีที่กระดูกรอยโรคเริ่มที่ metaphysic ของ long bone ซึ่งมีเลือดมาเลี้ยงมาก กระดูกจะถูกทำลายมากขึ้น กระดูกจะบางลงหรือแตกนอกกระดูกเกิดเป็นโพรงหนองที่ไม่มีลักษณะการอักเสบหรือแตกเข้าสู่ข้อใกล้เคียง
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีไข้ต่ำๆตอนบ่ายหรือเย็น ต่อมน้ำเหลืองโต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC อาจพบ WBC ปกติหรือสูงไม่มาก ค่า CRP ,ESR สูง ทดสอบ tuberculin test ผล+
การตรวจทางรังสี
Plaint film
MRI
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด ตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง
Septic arthritis
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ เช่น จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ หรือแพร่กระจายจากบริเวณใกล้เคียง จากการแพร่เชื้อโรคจากกระแสเลือด เชื้อที่เป็นสาเหตุส่วนใหญ่เช่นแบคทีเรีย
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก
มีไข้ มีอาการอักเสบ ปวดบวมแดงภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อข้อ มักเป็นที่ ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อเท้า รองลงมา ข้อศอก ข้อไหล่ ข้อมือ ข้อเล็กๆ เช่น ข้อนิ้ว
ผล Lab
เจาะดูดเอาน้ำในข้อมาย้อม gram stain
ผล CBC พบ ESR , CRP สูงขึ้นเล็กน้อย
การตรวจทางรังสี
Plain film อาจพบช่องระหว่างข้อกว้าง
Ultrasound บอกถึงภาวะมีน้ำในข้อมาก หรือเคลื่อนหลุด
Bone scan / MRI ช่วยบอกถึงการติดเชื้อในกระดูก
การรักษา
การใช้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด ได้แก่ Arthrotomy and drainage
Club Foot
สาเหตุ
ยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัด อาจเกิดจาก gene และปัจจัยส่งเสริมเช่น แม่สุบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์ และการติดเชื้อในครรภ์
การวินิจฉัย
การตรวจดูลักษณะรูปร่างเท้าตาม
ลักษณะตามคำจำกัดความ “เท้าจิกลง บิดเอียงเข้าด้านใน”
Positional clubfoot ขนาดเท้าใกล้เคียงเท้าปกติ บิดผิดรูปไม่มากนัก
idiopathic clubfoot ไม่สามารถหายได้เองต้องได้รับการรักษา
การรักษา
การดัดและใส่เฝือก ได้ผลดีกรณีที่แข็งไม่มาก มารักษาอายุน้อย เปลี่ยนเฝือกทุก 1-2 สัปดาห์
การผ่าตัด รายที่เนื้อเยื่อมีความแข็ง กระดูกแข็งผิดรูป ไม่สามารถดัดโดยใช้แรงจากภายนอกทำให้รูปเท้าดีขึ้น
การผ่าตัดเนื้อเยื่อ ทำในอายุ <3 ปี ผ่าตัดคลายกล้ามเนื้อเยื่อ subtalar joint และยืดเอ็นที่ตึง
การผ่าตัดกระดูก ทำในอายุ 3-10 ปี ตัดตกแต่งประดูกให้รูปร่างใกล้เคียงปกติ
หารผ่าตัดเชื่อมกระดูก ช่วงอายุ 10 ปีขึ้นไป ทำให้ subtalar jointและ midtarsal joint เชื่อมแข็ง ไม่โต รุปร่างเท้าใกล้เคียงปกติ
Flat feet
อาการ
จะมีตาปลาหรือหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
ปวดฝ่าเท้า
ในรายที่แบบรุนแรงผู้ป่วยมีอาการปวดน่อง เข่า และปวดสะโพก
สาเหตุ
พันธุกรรมในครอบครัว
เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
การรักษา
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตนเอง
อาจจะใช้ ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
cerebral Palsy
ความพิการทางสมอง ซึ่งเด็กจะมีการเคลื่อนไหวร่างกายที่ผิดปกติ การขยับแขน ลำตำใบหน้า ลิ้น รวมถึงการทรงตัวที่ผิดปกติ
สาเหตุของโรค
ก่อนคลอด
อาจมีสาเหตุจากการติดเชื้อ
มารดาเป็นโรคแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
ระหว่างคลอด /หลังคลอด
ปัญหาระหว่างคลอด คลอดยาก สมองกระทบกระเทือน ขาดออกซิเจน ทารกคลอดก่อนกำหนด
จำแนกการเคลื่อนไหวได้ 4 ประเภท
Spastic CP
มีอาการกล้ามเนื้อเกร็ง แน่นไม่สามารถหดตัวได้เหมือนกล้ามเนื้อปกติ
Ataxic CP
กล้ามเนื้อจะยืดหออย่างไม่เป็นระเบียบ
Athetoid CP
มีอาการกล้ามเนื้อไม่ประสานกัน ทำให้เดินโซเซหกล้มได้ง่าย
Mixed CP
เด็กคนเดียวมีลักษณะที่กล่าวมาแล้ว โดยประมาณกันว่า 1 ใน 4 ของคนเป็น CP
การรักษา
ป้องกันความผิดรูปของข้อต่างๆ
กายภาพบำบัด
อรรถบำบัด
ลดความเกร็ง โดยใช้ยา
ยากิน กลุ่ม diazepam
ยาฉีด เฉพาะที่ ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน คือกลุ่ม Botox
การผ่าตัด
ผ่าตัดลดความตึงของกล้ามเนื้อ
การย้ายเอ็น
การผ่าตัดกระดูก
ให้การดูแลรวมถึงให้กำลังใจ
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้ำหนักลด
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่ผิดปกติ รับน้ำหนักไม่ได้
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้นๆ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ระยะเวลาการมีก้อนเนื้องอก อาการปวด การเคลื่อนไหว
การตรวจร่างกาย
น้ำหนัก ตำแหน่งก้อน การเคลื่อนไหว ต่อมน้ำเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
MRI,CT เพื่อดูการแพร่กระจายของโรค
การรักษา
จุดมุ่งหมายหลักของการรักษา คือ การตัดก้อนมะเร็งออกให้หมด ป้องกันการแพร่กระจายโรค
การผ่าตัด
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
Omphalocele
เป็นความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง โดยที่มีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ ทำให้บางส่วนหายไป มีแต่เพียงชั้นบางๆที่ประกอบด้วยเยื่อบุช่องท้อง Penitoeal และเยื่อ amnion
การรักษา
Conservative
ทำได้โดยใช้สารละลายฆ่าเชื้อ เช่น Tr.Mercurochrome,providence solution ทาที่ผนังถุง มีผลทำให้หนังแปรสภาพเป็น Escher ที่เหนียวไม่แตกง่าย
เหมาะสำหรับในรายที่ omphalocele มีขนาดใหญ่หรือขนาดใหญ่มาก
Operative
รักษาโดยการผ่าตัด แบ่งออกเป็นสองวิธี
วิธีแรกเป็นการเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย
วิธีที่สองเป็นการปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน
Gastroschisis
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์แล้ว เกิดการแตกทะลุของ hermit of umbilical cord
การวินิจฉัย
เมื่อคลอดพบว่าที่หน้าท้องทารกจะพบถุงสีขาวขุ่นบาง ขนาดต่างๆกันสามารถมองเห็นขดลำไส้หรือตัวผ่านถุงอาจมีส่วนของถุงบรรจุ Wharton’s jelly สายสะดือติดอยู่กับตังถุง ขนาดพบตั้งแต่ 4-10 cm
แนวทางการพยาบาล
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
เช็ดทำความสะอาดลำไส้ส่วนที่สกปรก ป้องกันการติดเชื้อ
การดูแลหลังการผ่าตัด
Respiratory distress
Hypothermia
Hypoglycemia,Hypocalcemia
General care
จัดท่านอนหงาย
สังเกตการหายใจ
สังเกตการขับถ่าย
ตรวจดูว่ามี discharge ออกมาจากแผล
Swab culture
การติดตามการรักษา
เด็กจะมีน้ำหนักน้อยกว่าปกติ แต่กลับเข้าสู่ภาวะปกติเมื่ออายุประมาณ 6 เดือน
ภาวะที่อาจจะต้องแก้ไขต่อไปเช่น ventral hernia นัดมาแก้ไขประมาณ อายุ 2-4 ปี