Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสัมพันธภาพ มารดาและทารกหลังคลอด, จัดทำโดย นางสาวชฎาพร พรมมะดี…
การส่งเสริมสัมพันธภาพ
มารดาและทารกหลังคลอด
ความผูกพัน(Bonbing)
กระบวนการผูกพันทางอารมณ์ที่พ่อแม่
หรือผู้เลี้ยงมีต่อทารกฝ่ายเดียว
เกิดขึ้นตั้งแต่วางแผนตั้งครรภ์ ทราบว่าตั้งครรภ์
เกิดขึ้นชัดเจนเมื่อรับรู้ว่าลูกดิ้นและเพิ่มสูงสุดเมื่อทารกคลอด
ช่วงเวลาที่สำคัญและเหมาะสมต่อ
การสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
ตั้งแต่นาทีแรกหลังคลอดจนถึง1ชั่วโมงแรกหลังคลอดเพราะ
เป็นช่วงเวลาที่มารดาsensitive period และทารกมีความตื่นตัวจึงเป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่ก่อให้เกิดความรักใคร่ผูกพันระหว่างมารดาและทารก
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดา
และทารกในระยะแรกเกิด
การเคลื่อนไหวเป็นจังหวะตามเสียงพูด(Entrainment)
ทารกจะเคลื่อนไหว
ส่วนต่างๆของร่างกายเป็นจังหวะสัมพันธ์กับเสียงพูดสูงต่ำของมารดา
เช่น ขยับแขน ขา ยิ้ม หัวเราะ
จังหวะชีวภาพ(Biorhythmcity)
หลังคลอดทารกจะต้องปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมภายนอกที่แตกต่างจากในครรภ์ของมารดา มารดาจะช่วยทารกให้สร้างจังหวะชีวภาพได้
เมื่อทารกร้องไห้มารดาอุ้มทารกไว้แนบอกทารกจะรับรู้เสียง
การเต้นของหัวใจมารดาซึ่งทารกจะคุ้นเคยตั้งแต่ในครรภ์
ทำให้ทารกมีความรู้สึกมั่นคงยิ่งขึ้น
การใช้เสียง (Voice)
การตอบสนองเริ่มทันทีที่ทารกเกิด มารดาจะรอฟังเสียงทารกร้องครั้งแรก เพื่อยืนยันภาวะสุขภาพของทารก
ทารกแรกเกิดจะตอบสนองต่อระดับเสียงสูง
(High pitch voice) ได้ดีกว่าเสียงต่ำ (Deep loud voice)
การรับกลิ่น(Odor)
มารดาจำกลิ่นกายของทารกได้ตั้งแต่แรกคลอด และแยกกลิ่นทารกออกจากทารกอื่นได้ภายใน 3-4 วันหลังคลอด
ทารกสามารถแยกกลิ่นมารดาและหันเข้าหากลิ่นน้ำนมมารดาได้ภายในเวลา6-10วันหลังคลอด
การประสานสายตา (Eye to eye contact)
เป็นสื่อที่สำคัญต่อการเริ่มต้นพัฒนาการด้านความเชื่อมั่น ความไว้วางใจ และความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
มารดาจะรู้สึกผูกพันใกล้ชิดมากขึ้นเมื่อ
ทารกลืมตาและสบตากับตน
มารดาจะมองแบบface to face position เพื่อให้ประสานสายตากับทารกได้ดีขึ้น
ระยะที่ทารกสามารถมองเห็นหน้าได้ชัดเจน คือ 8-12 นิ้ว
การให้ความอบอุ่น (Body warmth หรือ Heat)
เมื่อเช็ดตัวทารกให้แห้งหลังคลอดแล้วห่อตัวและนำทารกให้มารดาโอบกอดทันที
ทารกจะไม่เกิดการสูญเสียความร้อนและทารกเกิดความผ่อนคลอยเมื่อได้รับความอบอุ่นจากมารดา
การสัมผัส (Touch,Tactile sense)
พฤติกรรมสำคัญที่จะผูกพันมารดา
และบุตรโดยการเริ่มสัมผัสบุตรด้วยการใช้นิ้วสัมผัสแขน ขา
จากนั้นบีบนวดสัมผัสตามลำตัว ทารกจะตอบสนอง
โดยการจับมือและดึงผมของมารดา
การให้ภูมิคุ้มกันทางน้ำนม (T and B lymphocyte)
ทารกจะได้รับภูมิคุ้มกันในนมแม่
T lymphocyte
ช่วยป้องกันและทำลายเชื้อโรค
ในระะบบทางเดินอาหาร
B lymphocyte
Immunoglobulin A
การให้ภูมิคุ้มกันทางเดินหายใจ (Bacteria nasal flora)
ขณะที่มารดาอุ้ม โอบกอดทารก จะมีการถ่ายทอดเชื้อโรคในระบบทางเดินหายใจ (normal flora) ของมารดาสู่ทารก เกิดภูมิคุ้มกันช่วยป้องกันทารกติดเชื้อจากสิ่งแวดล้อมภายนอก
บทบาทของพยาบาลผดุงครรภ์ในการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
ระยะคลอด
ลดความวิตกกังวลของผู้คลอด
ให้ข้อมูลเป็นสื่อกลางระหว่างผู้คลอดและครอบครัว
สร้างบรรยากาศให้เกิดความไว้วางใจ
ส่งเสริมให้การคลอดผ่านไปอย่างปลอดภัย
ระยะหลังคลอด
ส่งเสริมให้มารดาสัมผัสโอบกอดทารกทันทีหลังคลอด ในระยะ Sensitive period
Rooming in โดยเร็วที่สุด
ให้คำแนะนำในการดูแลบุตร
ตอบสนองต่อความต้องการของมารดา
กระตุ้นให้มีปฏิสัมพันธ์กับทารก
เป็นตัวแบบในการสร้างสัมพันธภาพกับทารก
ให้มารดา บิดา และทารกได้อยู่ด้วยกันตามลำพัง
ระยะตั้งครรภ์
การปรับบทบาทการเป็นบิดา มารดา
ยอมรับความเป็นบุคคลของทารกในครรภ์
ครอบครัวคอยให้กำลังใจ
การกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์
ยอมรับการตั้งครรภ์
สัมพันธภาพ (Attachment)
ความรู้สึกรักใคร่ผูกพันระหว่างทารกกับพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู
เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเป็นพิเศษและคงอยู่ถาวรจะเกิดขึ้นทีละเล็กละน้อยจากความใกล้ชิดห่วงใยอาทรเพิ่มขึ้นจนกลายเป็นความผูกพันทางใจจะใช้เวลาใน
การพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน
การประเมินสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
แนวทางประเมินสัมพันธภาพ
ความสนใจในการดูแลตนเองของตนเองและทารก
ความสนใจในการตอบสนองความต้องการของทารก
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก
ความสนใจในการปฏิบัติบทบาทการเป็นมารดา
พฤติกรรมของมารดาและทารกที่แสดงถึง
การขาดสัมพันธภาพ(Lack of attachment)
ไม่ตอบสนองต่อบุตร เช่น ไม่สัมผัสไม่ยิ้ม ไม่อุ้มกอดทารก
พูดถึงบุตรในทางลบ
แสดงท่าทางหรือคำพูดที่ไม่พึงพอใจขณะดูแลบุตร
ไม่สนใจมองบุตร สีหน้าเมินเฉยหรือหันหน้าหนี
ขาดความสนใจในการซักถามเกี่ยวกับพฤติกรรม
ของบุตรและการเลี้ยงดูบุตร
จัดทำโดย
นางสาวชฎาพร พรมมะดี เลขที่44 ห้องA