Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะตกเลือดหลังคลอด - Coggle Diagram
ภาวะตกเลือดหลังคลอด
กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะตกเลือด
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย ตามระบบต่างๆ
ความสามารถในการเข้าอู่ของมดลูก ประเมินจากระดับยอดมดลูก
อาการติดเชื้อ
ความรุนแรงของการเสียเลือด
ซีด ตัวเย็น ชีพจรเบาเร็ว อ่อนเพลีย ความดันโลหิตต่ำ กระสับกระส่าย
มีเลือดสดออกทางช่องคลอด
การตรวจทางช่องคลอด พบเศษเยื้อหุ้มรกที่ปากมดลูก
การมีรกหรือเศษเยื่อหุ้มรกค้างในโพรงมดลูก
การบวมเลือดของอวัยวะสืบพันธ์
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จำเป็น
การตรวจหาหมู่เลือด
Platelets
PT
CBC
Fibrinogen depression
PTT
การซักประวัติ
ประวัติความผิดปกติในครรภ์
ประวัติทางสูติศาสตร์
ประวัติส่วนตัว
การพยาบาล
ผู้ป่วยสามารถปรับตัวทางจิตสังคมหลังคลอดได้ตามปกติ
ผู้ป่วยลดความวิตกกังวล
การป้องกันภาวะติดเชื้อหลังคลอด
แสดงบทบาทเป็นบิดามารดาและมีความผูกพันกับทารกได้
ผู้ป่วยได้รับการพยาบาลภาวะตกเลือดหลังคลอดระยะหลัง
สามรถปฏิบัติตนหลังคลอด และเลี้ยงบุตรได้
การป้องกันการเกิดภาวะ Hypovplemic shock
ความวิตกกังวลลดลง
ได้รับการป้องกันเลือดอย่างถูกวิธี
กิจกรรมการพยาบาล
การพยาบาลขณะตกเลือด
การพยาบาลระยะหลังการตกเลือด
การพยาบาลเพื่อป้องกันการตกเลือด
การประเมินผลการพยาบาล
ผู้คลอดไม่มีภาวะติดเชื้อหลังคลอด
ผู้คลอดได้รับการดูแลและสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และแสดงบทบาทการเป็นมารดาได้
ผู้คลอดไม่มีเลือดออกทางช่องคลอดผิดปกติ
ผู้คลอดและญาติได้รับข้อมูลเกี่ยวกับความก้าวหน้าของอาการและรักษาพยาบาล
ผู้คลอดปลอดภัยจากภาวะการตกเลือด
ผู้คลอดปฏิบัติจนเมื่อมีภาวะตกเลือดหลังคลอดได้
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มารดาวิตกกังวล กลัวอันตรายจากการตกเลือดหลังคลอด
มารดาต้องการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
มารดาเกิดการตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ชนิดของการตกเลือดหลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอดระยะแรก เป็นการตกเลือด
การตกเลือดหลังคลอดระยะหลัง เป็นการตกเลือดระยะที่เกิดขึ้นภายหลังคลอด 24 ชม ไปจน 6 สัปดาห์หลังคลอด
ระยะของการตกเลือดหลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอดระยะแรก/ระยะปฐมภูมิ
สาเหตุ
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
การทำคลอดและการช่วยคลอดที่ไม่ถูกต้อง
การคลอดเร็วผิดปกติ
การตัดฝีเย็บไม่ถูกวิธี
ในรายที่มีปัญหาเชิงกรานไม่ได้สัดส่วนกับขนาดของทารก
มดลูกบางกว่าปกติ
รกหรือเศษรกค้างภายในโพรงมดลูก
การมีรกค้าง
การมีเศษรกค้าง ปัจจัยเสริมให้มีเศษรกค้าง
ความผิดปกติของรก
รกมีขนาดใหญ่ หรือ รกเกาะลึกร่วมกับารทำคลอดรกผิดวิธี
การมีรกน้อย
การทำคลอดรกผิดวิธี
การดึงสายสะดือ
การล้วงรก
การหดรัดตัวของมดลูก หากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
สาเหตุอื่นที่ขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
มีก้อนเลือดหรือมีเศษรกค้าง
มีเนื้องอกในโพรงมดลูกหรือเคยได้รับการผ่าตัดมดลูก
constriction ring คือการที่กล้ามเนื้อมดลูกส่วนบนและส่วนล่าง จะขวางกั้นรกไว้ แม้รกจะรกตัวแล้ว
การหดรัดตัวที่ไม่สม่ำเสมอของกล้ามเนื้อมดลูกบางชนิด
มาดามีภาวะทุพโภชนากการ โลหิตจาง ความดันโลหิตสูง รวมทั้งมีประวัติการตกเลือดหรือประวัติเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด
การติดเชื้อของมดลูก
ภาวะเลือดออกก่อนคลอดจากภาวะรกเกาะต่ำ หรือรกลอกตัวก่อนกำหนด
การคลอดยาก หรือใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
การใช้ยาบางชนิด
คลอดบุตรหลายครั้งโดยเฉพาะมากกว่า 5 ครั้ง
กล้ามเนื้อมดลูกมีการยืดขยายมากผิดปกติ
การเจ็บครรภ์คลอดที่เนินนาน หรือ คลอดเร็วเกินไป
ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
เป็นสาเหตุการตกเลือดหลังคลอดทันที
โรคเลือดต่างๆ
โรคเลือดที่เกิดจากการขาดเกล็ดเลือด
โลหิตจาง
ภาวะเลือดแข็งตัวผิดปกติ
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดง
เกิดเลือดคั่งที่เอ็นยึดมดลูก จะไม่ปรากฎเลือดไหลออกมาให้เห็นภายนอก
มดลูกปลิ้นจะพบว่ามีเลือดพุ่งออกกมาให้เห็นเป็นจำนวนมาก
การฉีกกขาดของหนทางคลอด เลือดที่ไหลออกมาจะเป็นสีแดงสด
การฉีกขาดของหลอดเลือดฝอยจะพุ่งแรงตามจังหวะของชีพจร และไม่หยุดไหลแม้จะทำให้มดลูกแข็งตัว
กรณีที่เกิดจาารที่มดลูกหดรัดตัวไม่ดี ส่วนใหญ่เลือดจะมีสีคล้ำ ลิ่มเลือดปนและเลือดจะหยุดไหลเมื่อมดลูกหดรัดตัวดี
หากมีเศษรกค้าง ส่วนใหญ่จะเกิดการตกเลือดหลังคลอดทันที
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี จะคลำได้มดลูกนุ่ม ไม่ตึงตัว
การมีเลือดออกทางช่องคลอดหรืออาจไม่มีเลือดออกมาให้เห็น
อาการแสดงของภาวะตกเลือด หน้าซีด ชีพจรเต้นเร็ว
ระยะแรกจะหายใจเร็ว
ต่อมาจะหายใจช้า ใจสั่น เหงื่อออกมาก อ่อนเพลีย ความดันโลหิตต่ำ หมดสติ ถึงแก่ชีวิต
ตรวจดูชิ้นส่วนของรกที่อาจค้างอยู่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เพื่อหาสาเหตุการตกเลือดหลังคลอด จากความผิดปกติในการแข็งตัวเป็นลิ่มของเลือด
Partail thromboplastic time
Clotting time
Prothrombin
Platelet count
การป้องกัน
ระยะคลอด
ดูแลไม่ให้เกิดการคลอดยาวนาน
ระวังการให้ยาแก้ปวดในขนาดที่มากเกินไป
ทำคลอดในระยะที่ 2 และระยะที่ 3 อย่างถูกต้องเหมาะสม
หลักเลี่ยงการทำสูติศาสตร์หัตถการอย่างยาก
ตรวจรกกและช่องทางคลอดอย่างละเอียด
ระยะหลังคลอด
ในรายที่ได้รับนากระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์ อาจให้ Oxytocin ต่อภายหลังการคลอดอย่างน้อย 2 ชม
กระตุ้นให้บุตรดูดนมมารดาทันทีหลังคลอด
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง โดยกระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะภายใน 2 ชมแรกหลังคลอด
ระยะก่อนคลอด
ซักประวัติ
การตรวจร่างกาย ค้นหาภาวะโลหิตจาง
การรักษา
การตกเลือดก่อนรกคลอด
คลึงมดลูกให้หดรัดตัวตลอดเวลา
ตรวจรกที่คลอดแล้วอย่างละเอียด
ทำคลอดรกโดยใช้วิธี Cord traction
ฉีด Methergin 0.2 mg เข้าทางหลอดเลือดดำ
ให้ยา Oxytocin 10-20 unit เข้าทางกล้ามเนื้อหรือหลอดเลือดดำ
กรณีภายหลังรกคลอดแล้ว ถ้าเลือดยังออกอยู่ให้ปฏิบัติตามข้อ 2 ต่อไป
ใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้
เจาะเลือดมารดา
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ตรวจวัดความดันโลหิต ชีพจร การหายใจ
การตกเลือดภายหลังรกคลอด
กรณีมีการฉีกขาดของช่องทางคลอด
ถ้ามดลูกดรัดตัวดีแล้ว แต่ยังมีเลือดไหลออกมาเรื่อยๆ ให้ใช้เครื่องมือถ่างขยายช่องคลอดให้เห็นภายในช่องคลอด และปากมดลูกได้ชัดเจน ตรวจหารอยฉีกขาด ให้เย็บรอยฉีกขาดเหล่านั่นจนเลือดหยุด
ถ้าทำแล้วเลือดยังออกให้ตรวจภายในโพรงล้วงมดลูก ภายใต้ยาดมสลบ โดยงดเว้นการฮาโลเทน ดูว่ามีก้อนเลือดหรือเศษรกค้างอยู่ไม่ ถ้ามีก็พยายามเอาออกให้หมดหรือขูดมดลูก ถ้าพบว่ามดลูกมีรอยฉีกขาดหรือทะลุให้รีบผ่าตัดเปิดช่องท้องทันที
ถ้าทำแล้วเลือดยังออกอยู่ให้รักษาโดย
ทำ Bimanual compression บนตัวมดลูก ในขณะที่ยังให้ยาสลบผู้ป่วย
กรณีการตกเลือดหลังคลอดทันทีจากการดรัดตัวของมดลูกไม่ดี ทำตามขันตอนแล้วไม่หยุด ควรพิจารณาฉีด Prostaglandin
2 more items...
ตรวจหาเลือด Venus clotting time , clot retraction time และ clot lysis
กรณีมดลูกหดรัดตัวไม่ดี และมีเลือดไหลออกมาทางช่องคลอดตลอดเวลา
คลึงมดลูกให้หดรัดตัวตลอดเวลา
สวนปัสสาวะออกให้หมด แล้วคาสายสวนไว้
ให้ 5%D/W หรือ 5% DD/N หรือ Ringer lactase solution (RLS) 1,000 ml ร่วมกกับ Oxytocin 10-20 unit ผสมอยู่ และขอเลือดเตรียมไว้ 2-4 unit
ฉีด Methergin 0.2 mg เข้าทางหลอดเลือดดำ
วางกระเป๋าน้ำแข็งบริเวณหน้าท้อง และคลึงมดลูกหดรัดตัวตลอดเวลา
ถ้ารักษาแล้วยังคงมีเลือดออก
ถ้าอายุมากแล้วหรือมีบุตรเพียงพอแล้วให้ตัดมดลูกออก
ถ้าอายุน้อยและยังต้องกการมีบุตรใ้ทำการผ่าตัดผูกหลอดเลือด Internal iliac hypogastric เพื่อเก็บมดลูกไว้
ดูแลผู้ป่วยภายหลังเกิดการตกเลือดหลังคลอดอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะในระยะ 24-48 ชมแรกคลอด
ตรวจหาระดับความเข้มข้นของเลือด
คำนวณหา Intake และ Output
ตรวจวัดชีพจร ความดันโลหิต การหายใจ และระดับความรู้สึกตัว
ให้ยาปฏิชีวนะประเภทครอบคลุมเชื้อได้กว้างขวาง
ให้ยาบำรุงเลือด และอาหารที่มีประโยชน์อย่างเพียงพอ
การตกเลือดในระยะหลัง
การตกเลือดในระยะหลัง/ระยะทุติยภูมิ
สาเหตุ
เลือดออกจากแผลภายในช่องคลอด
สาเหตุร่วมกันที่พบบ่อย
ภาวะมีเศษรกค้างในโพรงมดลูกร่วมกับการติดเชื้อภายในโพรงมดลูก
ภาวะติดเชื้อภายในโพรงมดลูก
เลือดออกกจากแผลของมดลูกภายหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องและมะเร็งไข่ปลาอุก
มีก้อนเลือด หรือเศษรกค้างอยู่ภายในโพรงมดลูก
การวินิจฉัย
มีเลือดออกทางช่องคลอด มักเกิดอาการภายใน 3 สัปดาห์หลังคลอด
ผลของการตกเลือดหลังคลอดระยะหลัง
ภูมิต้านทานโรคต่ำ ติดเชื้อได้ง่าย
เกิด Necrosis ของต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ภาวะซีด อ่อนเพลีย สุขภาพทรุดโทรม
การรักษา
รายที่มีการติดเชื้อภายในโพรงมดลูก พิจารณาให้ยาช่วยหดรัดตัวของมดลูก
รายที่มีเลือดออกจากแผลภายในช่องคลอด ให้ทำความสะอาดและเย็บแผลให้เลือดหยุด
รายที่มีเศษรกคาง หรือมีก้อนเลือดค้างอยู่ในโพรงมดลูก ให้ Oxytocin แล้วทำการขูดมดลูกด้วยความระมัดระวัง
ความหมาย
ภาวะที่มีการเสียเลือดหลังคลอด ตั้งแต่ 500 มิลลิลิตรขึ้นไป