Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
บทบาทการพยาบาล
การรวบรวมข้อมูลภาวะสุขภาพ
การดูแลเด็กที่มีความผิดปกติทางระบบประสาท
การให้คำแนะนำบิดามารดาของผู้ป่วยเด็กโรคระบบประสาท
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญคือ มีก้อนที่หลัง หรือที่หน้าผาก ขาอ่อนแรงทั้งสองข้าง ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา นึกถึง Congenital Spina bifida occulta Meningocele Meningomyelocele
ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง มีประวัติ ไม่ได้รับวัคซีน ไม่มีประวัติการคลอดในรพ. เป็นชนต่างด้าว นึกถึง Poliomyelitis
ภาวะความไม่รู้สึกตัว ร่วมกับความเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการสำคัญ คือ ชักเกร็ง ซึม ไม่ดูดนม
กรณีที่ 1 ไม่มีไข้ นึกถึง ความผิดปกติของสมองที่เกิดจากการได้รับบาดเจ็บ (Head Injury) เนื้องอกในสมอง (Brain Tumor) โรคลมชัก (Epilepsy)
กรณีที่ 2 มีไข้ นึกถึง ความผิดปกติที่สมองทีเกิดจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมอง สมองและไขสันหลัง (Meningitis ;Encephalitis;Tetanus)
กรณีที่ 3 มีไข้สูง เกิน 38 °c อายุ ประมาณ 6 เดือน – 5 ปี ไม่มีการติดเชื้อของระบบประสาทนึกถึง Febrile convulsion
ความไม่รู้สึกตัว
เป็นภาวการณ์ทำงานของสมอง ที่ไม่มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า แม้ว่าสิ่งเร้านั้นจะรุนแรงหรือก่อให้ เกิดความเจ็บปวดก็ตาม
ระดับความรู้สึกตัว
full consciousness
confusion
disorientation
lethargy / drowsy
stupor
coma
Spina bifida
Spina bifida occulta
Spina bifida cystica
Meningocele
Myelomeningocele หรือ Meningomyelocele
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจพิเศษ
การป้องกัน
ให้กรดโฟลิคแก่หญิงตั้งครรภ์จะช่วยลดการเกิดโรคได
การรักษา
spida bifida occulta ไม่จ าเป็นต้องรักษาแต่ชนิด Cystica ต้องผ่าตัดภายใน 24 – 48 ชั่วโมงภายหลังเกิด เพื่อลดการติดเชื้อหลังผ่าตัดความผิดปกติขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค พัฒนาการอาจเป็นไปตามวัย หรือเป็นอัมพาตครึ่งล่าง มักทำ V P Shunt ภายหลังทารกมักต้องผ่าตัดหลายครั้ง
ท่าทางของเด็กในภาวะไม่รู้สึกตัว
Decorticate posturing
Decerebrate posturing
ปฏิกิริยาสะท้อนกลับ (Reflexes)
ในช่วงหมดสติระดับลึก (deep coma)
glasgow coma scale ในเด็ก
การสนองตอบด้วยการลืมตา (Eye opening : E)
-ลืมตาเอง 4 คะแนน
-ลืมตาเมื่อเรียกหรือได้ยินเสียงพูด 3 คะแนน
-ลืมตาเมื่อเจ็บปวด 2 คะแนน
-ไม่ลืมตาเมื่อได้รับการกระตุ้น 1 คะแนน
การตอบสนองการพูด (Verbral response : V)
กรณีเด็กอายุ 0 – 4 ปี
ยิ้ม ฟัง มองตาม/ร้องเสียงดัง/พูดจ้อ 5 คะแนน
ร้องไห้แต่หยุด 4 คะแนน
ร้องไห้ตลอด/กรีดร้องเมื่อเจ็บ 3 คะแนน
ส่งเสียงครางเมื่อเจ็บหรือกระวนกระวาย
พักไม่ได้ 2 คะแนน
ไม่เปล่งเสียงหรือไม่ตอบสนอง 1 คะแนน
กรณีเด็กอายุ 5 – 18 ปี
-พูดได้ไม่สับสน 5 คะแนน
-พูดได้แต่สับสน 4 คะแนน
-พูดได้เป็นค าๆค่อนข้างสับสน หรือ
พูดโดยไม่สอดคล้องกับค าถาม 3 คะแนน
-เปล่งเสียงได้แต่ไม่เป็นค าพูด 2 คะแนน
-ไม่เปล่งเสียง 1 คะแนน
ในกรณีผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจ หรือใส่ Tracheostomy ให้ใส่อักษร T
การตอบสนองด้วยการเคลื่อนไหว (Motor response : M)
กรณีเด็กอายุ 0 – 4 ปี
เคลื่อนไหวได้เอง 6 คะแนน
-ชักแขนขาหนีเมื่อจับ 5 คะแนน
-ชักแขนขาหนีเมื่อเจ็บ 4 คะแนน
-แขนขามีอาการเกร็งแบบศอกงอ 3 คะแนน
-แขนมีการเกร็งแบบศอกเหยียด 2 คะแนน
-ไม่มีปฏิกิริยาใดๆหรือไม่เคลื่อนไหวเลย 1 คะแนน
กรณีเด็กอายุ 5 – 18 ปี
-ทำตามคำสั่งได้ 6 คะแนน
-เคลื่อนไหวเมื่อรู้สึกเจ็บหรือทราบตำแหน่งที่เจ็บ 5 คะแนน
-ชักแขนขาหนีเมื่อเจ็บ 4 คะแนน
--แขนขามีอาการเกร็งแบบศอกงอ(Decorticate) 3 คะแนน
-แขนมีการเกร็งแบบศอกเหยียด(Decerebrate) 2 คะแนน
-ไม่มีปฏิกิริยาใดๆหรือไม่เคลื่อนไหวเลย 1 คะแนน
ภาวะชักจากไข้สูง
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้ำ
อายุ โดยเฉพาะเด็กที่มีอาการชักครั งแรกในช่วงอายุก่อน 1 ป
มีความผิดปกติของระบบประสาทก่อนมีอาการชัก
ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื อ
สาเหตุ
การติดเชือในระบบต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ระบบประสาท
อาการ
เด็กจะมีอาการชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส อาการชักเกิดขึ้นภายใน 24 ชม.แรกที่เริ่มมีไข้ มักเกิดในเด็กอายุ 3 เดือน ถึง 5 ปีพบมากช่วงอายุ 17 – 24 เดือน
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple febrile seizure (primary febrile seizure)
Complex febrile seizure
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
ประเมินสภาพร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษอื่น ๆ
โรคลมชัก
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ
ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง,
ภยันตรายระหว่างการคลอดหรือ
หลังคลอด
ภยันตรายที่ศีรษะ
ความผิดปกติของสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย
ไม่ทราบสาเหตุ
จากความผิดปกติของ Neurotransmission
ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของยีน
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้
มีพยาธิสภาพภายในสมอง จัดอยู่ใน
กลุ่ม Symtomatic epilepsy
อาการ
Preictal period คือ ระยะก่อนอาการชัก
อาการนำ (Seizure prodromes)
อาการเตือน (Aura)
Interictal peroid
ช่วงเวลาระหว่างการชัก เริ่มตั่งแต่ระยะเวลาหลังการชักหนึ่งสิ้นสุดลงไปจนถึงเริ่มเกิดชักครั้งใหม่ โดยทั่วไปจะไม่มีอาการแสดงใดๆ แต่อาจพบคลื่นไฟฟ้าสมองที่ผิดปกติ
ชนิด
อาการชักเฉพาะที่ (Partial / Focal seizure)
อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสติ (Complex partial
seizures /Complex focal seizure)
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ (Simple partial seizures
/Simple focal seizure)
อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว (Focal
with secondarily generalized seizures)
อาการชักทั้งตัว (Generalized seizures)
อาการชักเหม่อ (Absence)
อาการเกร็งกระตุก (Tonic clonic seizures)
อาการชักกระตุก (Clonic seizures)
อาการชักเกร็ง (Tonic seizures)
อาการชักตัวอ่อน (Atonic seizures)
อาการชักสะดุ้ง (Myoclonic seizures)
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
อาการ
ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
มีอาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติ มีอาการคอแข็ง
ตรวจพบ Kernig sign และ Brudzinski sign ให้ผลบวก รีเฟล็กซ์ลึกไวเกิน มีอาการที่แสดงว่าเส้นประสาทสมองถูกรบกวนหรือทำลาย (คู่ที่ 3, 4, 5, 6, 7, 8) ตรวจ Babinski ได้ผลบวก
ในรายที่เกิดจากเชื้อเมนิงโกคอคคัส จะตรวจพบผื่นแดงที่ผิวหนัง จุดเลือดออกกระจายทั่วๆ ไป
อุบัติการณ์
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ มักจะเกิดในช่วงหน้าหนาว เพราะเป็นช่วงที่ระบบต้านทานในทางเดินหายใจทำงานน้อยลง เกิดจากเชื้อ นิวโมคอคคัสH. Influenzae และเมนิงโกคอคคัส ซึ่งพบได้ทั่วโลก พบในหน้าหนาว พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง เชื้อ H.influenzae มักก่อให้เกิดโรค ในเด็กอายุระหว่าง 2 เดือน ถึง 7 ปี เชื อมักจะเข้าทางหูชั นกลางอักเสบ (Otitis media)โพรงอากาศจมูกอักเสบ (Sinusitis) เชื อ Neisseria meningococcus พบได้ทั้งในเด็กและวัยรุ่น ในเด็กพบเชื้ อนี้ ระบาดในศูนย์เลี้ยงเด็กกลางวัน เชื อจะติดต่อทางเดินหายใจ น้ำมูก น้ำลาย
การตรวจ CSF
ค่าปกติของน้ าไขสันหลัง ปกติจะไม่มีสี
ความดันระหว่าง 75 – 180 มม.น้ า (5 – 15 มม.ปรอท)
ไม่มีเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว
โปรตีน 15 – 45 mg / 100 ml (1% ของ serum protein)
กลูโคส 50 – 75 mg / 100 ml
คลอไรด์ 700 – 750 mg / 100 ml
Culture & Latex agglutination
ภาวะไม่รูสึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
โรคอุทกเศียร : น้้าไขสันหลังคั่งในโพรงสมอง :
ภาวะน้้าคั่งในกะโหลกศีรษะ (Hydrocephalus)
อาการสำคัญ
ศีรษะโตแต่กำเนิด,กระหม่อมหน้าโป่ง,ศีรษะโตเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับทรวงอก
ปวดศีรษะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
Congenital Hydrocephalus
Obstructive Hydrocephalus
Communicate Hydrocephalus
อาการแสดงทางคลินิก
หัวบาตร
หัวโตกว่าปกติเมื่อเทียบกับGrowth curve ปกติ
รอยต่อกะโหลกศีรษะแยกออกจากกัน
รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง
หนังศีรษะบางและเห็นเส้นเลือดดำ
เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก
อาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะสูง ปวดศีรษะ , ตามัว , อาเจียน
ตากลอกลงล่าง กลอกขึ้นบนไม่ได้
ตาเขเข้าในมองไปด้านข้างไม่ได้เนื่องจากCN 6TH Palsy มองเห็นภาพซ้อน(Diplopia)
รีเฟลกซ์ไวเกิน
การหายใจผิดปกติ
การพัฒนาการช้ากว่าปกติ
สติปัญญาต่ำกว่าปกติ,ปัญญาอ่อน
เด็กเลี้ยงยากไม่รับประทานอาหาร
การรักษา
การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยการผ่าตัด
สายระบายน้ำในโพรงสมอง
สายระบายจากโพรงสมอง
วาล์วและส่วนที่เก็บน้ำหล่อสมอง
สายระบายลงช่องท้อง
โรคแทรกซ้อนในการผ่าตัด
การทำงานผิดปกติของสายระบายน้ าในโพรงสมอง(Shunt malfunction)มีการอุดตันหรือระบายมากเกิน
การติดเชื้อของสายระบายน้ าในโพรงสมอง(Shunt infection)Epidermidis
การอุดตันสายระบายน้ าในโพรงสมอง(Shunt obstruction)
ภาวะระบายน้ าในโพรงสมองมากเกิน(Overdrainage)
ภาวะโพรงสมองตีบแคบ(Slit ventricle)
ภาวะเลือดออกในศีรษะ เกิดเลือดออกในโพรงสมอง(Intraventricular hemorrhage)
ไตอักเสบ(Shunt nephritis)
การรักษา IICP
รักษาเฉพาะ
การรักษาเบื้องต้น กรณีมีIICPสูงอย่างเฉียบพลัน
การรักษาความผิดปกติที่เกิดต่อเนื่องจากพยาธิสภาพเดิมหรือที่เกิดร่วม
โรคไข้กาฬหลังแอ่น
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides
การเก็บส่งผลตรวจ
การตรวจวิเคราะห์ยืนยันเชื้อก่อโรคไข้กาฬหลังแอ่น ด้วยวิธีการทดสอบ
◦วิธีทางชีวเคมี และวิธี PCR (กรณีเก็บตัวอย่างเชื้อบริสุทธ์)
◦วิธีตรวจหาค่า Minimum inhibition concentration (MIC)
◦วิธี seminested-PCR
เก็บตามที่แพทย์ต้องการ
เก็บเพื่อการศึกษาระบาดวิทยาของเชื้อ
การติดต่อ
ผู้ที่สามารถแพร่เชื้อได้ คือ ผู้ที่ไม่มีอาการ(พาหะ) และผู้ป่วยสามารถแพร่โรคได้จนกว่าจะตรวจไม่พบเชื้อในน้ำมูก น้ำลายแล้ว ปกติเชื้อจะหมดไปจากช่องโพรงจมูกทางด้านหลัง ( nasopharynx ) ของผู้ป่วยภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากที่ผู้ป่วยได้รับยาต้านจุลชีพที่เหมาะสม penicillin จะใช้ยับยั้งเชื้อได้ชั่วคราว แต่จะไม่กำจัดเชื้อให้หมดไปจากโพรงช่องปาก จมูกและคอรวมทั้งโพรงจมูกด้านหลัง(oronasopharynx)
วิธีการติดต่อ
แบบไม่มีอาการหรืออาการน้อย
แบบเชื้อแพร่เข้ากระแสเลือดหรือเลือดเป็นพิษ
แบบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
อาการ
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ าเลือด(pink macules) ขึ้นตามผิวหนังร่วมด้วย และอาจเกิดภาวะช็อกอย่างรวดเร็ว
ส่วนใหญ่มาด้วยอาการสำคัญที่ทำให้อาจเกิดอาการช็อก
Meningococcemia
Meningitis
การรักษา
Glucocorticoid therapy ก่อนการให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
ยาปฏิชีวนะ เช่น Ceftriaxone /PGS/Chloramphenicol
การรักษาแบบประคับประคองและตามอาการอื่นๆ
การป้องกันผู้สัมผัสโรค
ผู้ที่สัมผัสใกล้ชิด(Close contact) กับผู้ป่วย ต้องได้รับยาป้องกันได้แก่Rifampicin หรือ ceftriaxone หรือ ciprofloxacin
การควบคุมป้องกันโรค
ให้ความรู้และประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคแก่ประชาชน
ใช้วัคซีนป้องกันโรค ใน Serogroups A, C, Y และ W135
การรักษา ยา penicillin และ chloramphenical มีประสิทธิผลดีต่อการรักษาโรค
การป้องกันสำหรับผู้สัมผัสโรค
สำหรับนักท่องเที่ยวผู้ที่จะเดินทางไปในที่ที่มีการระบาดของโรคนี้ และจะอยู่ในพื้นที่นั้นเป็นเวลานาน การฉีดวัคซีนจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการติดโรคได้
มาตราการเมื่อเกิดการระบาดและควบคุมระดับโลก
ต้องดำเนินการเฝ้าระวังอย่างเข้มงวด
ลดความแออัดหนาแน่นของผู้ที่ต้องอยู่ร่วมกัน
ใช้ยา rifampicin แก่ผู้สัมผัสใกล้ชิดเพื่อลดจ านวนผู้เป็นพาหะ
การใช้วัคซีนป้องกันโรคในประชาชนทุกกลุ่มอาย
ให้คำแนะนำการป้องกันสำหรับประชาชน
ผู้ที่เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์และ อุมเราะห์ที่ซาอุดิอาระเบีย ต้องได้รับการฉีดวัคซีนโรคไข้กาฬหลังแอ่น
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาพกพร่อง
อาการสำคัญคือ
ไม่รู้สึกตัว
หายใจ
ไม่มีประสิทธิภาพ
การดูดกลืนบกพร่อง
เลี้ยงไม่โต
ข้อติดแข็ง
พัฒนาการล่าช้า
เกร็งกระตุก
มีประวัติ สมองขาดออกซิเจน นึกถึง Cerebral palsy
สมองพิการ
ชนิด
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
Splastic quadriplegia
Splastic diplegia
Splastic hemiplegia
Extrapyramidol cerebral palsy
Ataxia cerebral palsy
Mixed type
อาการ
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า
ปัญญาอ่อน
อาการอื่นๆ ร่วม
ชัก
หูหนวก
ตาบอด
การรับรู้ผิดปกติปัญหาด้านการพูด
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ
ประเมินร่างกาย
เป้าหมาย : การทำทางเดินหายใจให้โล่ง
กิจกรรมการพยาบาล
จัดท่านอนของเด็กให้เหมาะสม โดยให้นอนตะแคงข้าง เพื่อป้องกันการสำลัก
ดูแลไม่ให้มีอาหาร หรือเศษอาหารอยู่ในช่องปาก เพราะเด็กอาจสำลักได้
ดูดเสมหะให้เด็กเป็นระยะๆ
เตรียมอุปกรณ์ช่วยเหลือให้พร้อมหากมีปัญหาเกี่ยวกับการอุดกั้นทางเดินหายใจ จะได้ให้การช่วยเหลือได้ทันที
เป้าหมาย : แรงดันสมองต้องไม่เพิ่มขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
จัดให้เด็กนอนศีรษะสูง ประมาณ 15 – 30 องศา
หลีกเลี่ยงท่านอนหรือกิจกรรม ที่จะทำให้แรงดันภายในสมองเพิ่ม เช่น การกดหลอดเลือดที่คอ (neck vein) การก้มคอหรือแหงนหน้าไปด้านหลังอย่างเต็มที่ การหมุนศีรษะไปมาการกระตุ้นให้เกิดความเจ็บปวด และการดูดเสมหะ
จัดท่านอนให้ข้อสะโพกงอไม่เกิน 90 องศา
ป้องกันไม่ให้ท้องผูก
คำแนะนำในการทานยากันชัก
รับประทานยากันชักสม่ำเสมอต่อเนื่องตามเวลา ห้ามหยุด/เพิ่ม/ลดยาเอง
ถ้าลืมรับประทานยากันชักทำอย่างไร
ลืมในวันเดียวกันให้รับประทานยาทันทีที่นึกได้
ลืมข้ามวันแล้วมีอาการชัก ให้ไปพบแพทย์
ลืมข้ามวันไม่มีอาการชักให้รับประทานยาต่อไป
ถ้ารับประทานยาแล้วอาเจียนภายในครึ่งชั่วโมง ให้รับประทานยาซ้ าใน
เมื่อไม่สบายไม่ควรซื้อยารับประทานเอง
ภาวะแทรกซ้อนเกี่ยวกับตา
สังเกตและประเมินอาการที่บ่งชี้ว่า จะมีการระคายเคือง
อาจต้องใช้ผ้าปิดตา (eye pad) เพื่อไม่ให้ตาแห้ง
ถ้าตาแห้ง อาจต้องใช้น้ าตาเทียม (artificial tears) หยอด
ภาวะแทรกซ้อนทางผิวหนัง
ประเมินสภาพผิวหนังเป็นระยะๆ เพื่อตรวจสอบว่ามีความผิดปกติของผิวหนังหรือไม่
หมั่นเปลี่ยนท่านอน หรือพลิกตะแคงตัวบ่อยๆ เพื่อป้องกันการเกิดแผล กดทับ
ดูแลผิวหนังให้สะอาดและชุ่มชื่นอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะจุดที่เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
ควรทาครีมบำรุงผิวหนัง (lotion) และนวดผิวหนังทุกวันเพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด
ดูแลบริเวณอวัยวะเพศภายนอก ฝีเย็บ (perineum) และทวารหนักให้สะอาดโดยเฉพาะหลังการขับถ่ายทุกครั้ง