Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด, นางสาวรัศมี สุทธิประภา เลขที่40…
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด
Bonding(ความผูกพัน)
Bonding หมายถึง ความผูกพันทางอารมณ์ (emotional ties) ที่มารดาหรือบิดามีต่อทารก
ฝ่ายเดียว (one - way- process)
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก ในระยะแรกเกิด
1.การสัมผัส (Touch,Tactile sensesense)
ความสนใจในการสัมผัสบุตร เริ่มสัมผัสบุตรด้วยการใช้นิ้วสัมผัสแขนขา ทารกจะมีการจับมือและดึงผมมารดาเป็นการตอบสนอง
การให้มารดาและทารกมีการสัมผัสกันตั้งแต่อยู่ในห้องคลอดและอยู่ด้วยกันให้มากที่สุดขณะอยู่โรงพยาบาล ( rooming-in )หรือใน24ชั่วโมงแรกหากไม่มีข้อจำกัด
จังหวะชีวภาพ (Biorhythmcity)
หลังคลอดทารกจะต้องปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมภายนอกที่แตกต่างจากในครรภ์ของมารดา มารดาจะช่วยทารกให้สร้างจังหวะชีวภาพได้โดยขณะที่ทารกร้องไห้ มารดาอุ้มทารกไว้แนบอก ทารกจะรับรู้เสียงการเต้นของหัวใจมารดา ซึ่งทารกจะคุ้นเคยตั้งแต่ในครรภ์ ทำให้ทารกมีความรู้สึกมั่นคงยิ่งขึ้น
การรับกลิ่น (Odor)
มารดาจากลิ่นกายของทารกได้ตั้งแต่แรกคลอด และแยกกลิ่นทารกออกจากทารกอื่นได้ภายใน 3-4 วันหลังคลอด ส่วนทารกสามารถแยกกลิ่นมารดาและหันเข้าหากลิ่นน้ำนมมารดาได้ภายในเวลา 6 10วันหลังคลอด
การเคลื่อนไหวเป็นจังหวะตามเสียงพูด (EntrainmentEntrainment)
ทารกจะเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายเป็นจังหวะสัมพันธ์กับเสียงพูดสูงต่ำของมารดา เช่น ขยับแขน ขา ยิ้ม หัวเราะ เป็นต้น
การใช้เสียง (Voice)
การตอบสนองเริ่มทันทีที่ทารกเกิด มารดาจะรอฟังเสียงทารกร้องครั้งแรก เพื่อยืนยันภาวะสุขภาพของทารก และทารกแรกเกิดจะตอบสนองต่อระดับเสียงสูง (High pitch voice) ได้ดีกว่าเสียงต่ำ (Deep loud voice)
การให้ความอบอุ่น (Body warmth หรือ Heat)
มีการศึกษาพบว่า หลังทารกคลอดทันที ได้รับการ เช็ดตัวให้แห้ง ห่อตัวทารกและนำทารกให้มารดาโอบกอดทันที ทารกจะไม่เกิดการสูญเสียความร้อน และทารกจะเกิดความผ่อนคลายเมื่อได้รับความอบอุ่นจากมารดา
การให้ภูมิคุ้มกันทางน้ำนม (T and B lymphocyte)
ทารกจะได้รับภูมิคุ้มกันในนมแม่ ได้แก่T lymphocyte, B lymphocyte และImmunoglobulin A ช่วยป้องกันและทำลายเชื้อโรคในระบบทางเดินอาหาร
2.การประสานสายตา (Eye to eye contact)
มารดาจะรู้สึกผูกพันใกล้ชิดมากขึ้นเมื่อทารกลืมตาและสบตาตนเอง มารดาส่วนใหญ่จึงพยายามมองอย่างเผชิญหน้า (Face to face position) ระยะที่ทารกสามารถมองเห็นมารดาได้ชัดเจน คือ 8-12นิ้ว
การให้ภูมิคุ้มกันทางเดินหายใจ
(Bacteria nasal flora )
ขณะที่มารดาอุ้มโอบกอดทารก จะมีการถ่ายทอดเชื้ดโรคในระบบทางเดินหายใจ (normal flora flora) ของมารดาสู่ทารก เกิดภูมิคุ้มกันช่วยป้องกันทารกติดเชื้อจากสิ่งแวดล้อมภายนอก
กระบวนการพัฒนาสัมพันธ์ภาพระหว่างมารดากับทารก
ระยะคลอดและระยะหลังคลอด
ขั้นการสนใจดูแลสุขภาพตนเองและทารกในครรภ์และการแสวงหาการคลอดที่ปลอดภัย
ขั้นการสัมผัสทารก
ขั้นการมองดูทารก
ขั้นการดูแลทารกและให้ทารกดูดนม
ระยะก่อนการตั้งครรภ์
ขัั้นการวางแผนการตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
ขั้นการรับรู้การเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์
การยอมรับว่าทารกในครรภ์เป็นบุคคลคนหนึ่ง
ขั้นการยอมรับการตั้งครรภ์
ขี่นการยืนยันการตั้งรรภ์
การพัฒนาสัมพันธ์ภาพในระยะหลังคลอด
หลังคลอดทันที มารดาจะแสดงความรักความผูกพันกับลูก
ตั้งแต่นาทีแรกหลังคลอดจนกระทั่งถึง 1 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
เป็นช่วงเวลาที่มารดามีความรู้สึกไวที่สุด (Sensitive period period)
*
และทารกมีความตื่นตัว จึงเป็นช่วงเวลาสาคัญที่ก่อให้เกิดความรักใคร่ผูกพันระหว่างมารดาทารก
Bonding(ความผูกพัน)+Attachment(สัมพันธ์ภาพ)
เมื่อทารกดูดนมแม่ ทารกจะได้รับฮอร์โมนออกซิโตซิน(oxytocin) ที่มีอยู่ในน้ำนมมารดา ทำให้ทารกสงบ ช่วยเชื่อมความผูกพันระหว่างมารดาและทารก
Attachment
(สัมพันธ์ภาพ)
Attachment หมายถึงความรู้สึกรักใคร่ผูกพัน (affectionate ties) ของทารกที่มีต่อมารดา
หรือบิดาหรือผู้เลี้ยงดู(two - way- process)
นางสาวรัศมี สุทธิประภา เลขที่40 ห้อง26A
อ้างอิง นิภา เพียรพิจารณ์.(2558).
การส่งเสริมสายสัมพันธ์แม่-ลูก และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
.สืบค้นเมื่อวันที่27พฤษภาคม
2563,จาก
https://www2.si.mahidol.ac.th/division/nursing/sins/attachments/article/222/sins_nursing_manual_2558_10.pdf
พรรณยุพา เนาว์ศรีสอน.(2563).
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด
.สืบค้นเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2563,จากเอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชามารดาและทารก เรื่องการพยาบาลมารดาในระยะหลังคลอด.