Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนพงสะตือ, นางสาวพิชญ์กัลยา ท้าวสาลี เลขที่…
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนพงสะตือ
1. การเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน
การมีผู้นำหรือสภาผู้นำที่เข็มแข็ง สามารถชักจูง
ให้คนในชุมชนปฏิบัติตามข้อตกลงได้อย่างต่อเนื่อง
การสร้างความตระหนักเรื่องสุขภาพของคนในชุมชน
ชุมชนร่วมกันตัดสินใจในการแก้ไขปัญหา มีการรวมกลุ่มกันของคนในชุมชน
การให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่ถูกต้อง
และโทษของการรับประทานอาหารเค็ม
ชุมชนมีส่วนร่วมในการคิด ทราบถึงปัญหาสุขภาพของชุมชน
การจัดตั้งสภาผู้นำ เพื่อเข้าทำงานร่วมกับหมู่บ้านในเรื่องสุขภาพ
หน่วยงานภาครัฐสนับสนุนให้ความรู้ และประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ
2. การเลือกใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทรัพยากรและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพ
การปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษในครัวเรือนอย่างน้อย 5 ชนิด
การทำเกษตรอินทรีย์
ส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพรในแปลงผักด้วย
สามารถนำผลผลิตมาประกอบอาหารเป็นเมนูสุขภาพได้
การส่งเสริมการออกกำลังกาย
3. การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลตนเอง
อสม.ติดตามตรวจคัดกรองโรคความดัน เบาหวาน
เพื่อให้โรงพยาบาลรวบรวมเป็นข้อมูลสุขภาพ
หน่วยงานภาครัฐ คอยดูแลให้คำแนะนำ กำกับติดตาม
ร่วมมือในการคิดและลงมือปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาสุขภาพ
มีการประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ มีส่วนช่วยเหลือ
สนับสนุน และขับเคลื่อนชุมชนอย่างต่อเนื่อง
มีวัตถุประสงค์ร่วมกันในการแก้ไขปัญหาสุขภาพ
มีบุคคลตัวอย่างที่ประสบความสำเร็จ เป็นบุคคลต้นแบบ สามารถสร้าง
แรงจูงใจให้ในคนชุนชนปฏิบัติตาม และเผยแพร่ความรู้ให้หมู่บ้านอื่นๆได้
4. การสาธารณสุขมูลฐาน
การกำหนดข้อตกลงหรือแนวทางการปฏิบัติร่วมกัน
โดยทุกคนในชุมชนสามารถปฏิบัติได้
มีการผสมผสานระหว่างการปลูกผักสวนครัวที่มีอยู่แล้ว
กับการปลูกพืชสมุนไพรเสริมด้วย
มีความยืดหยุ่น สามารถปฏิบัติได้ในการดำเนินชีวิต ขึ้นอยู่กับ
ความสามารถของแต่ละบุคคลในการดูแลสุขภาพของตนเอง
สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบเกษตรกรรมของคนในชุมชน
ร่วมกันจัดตั้งสภาผู้นำ เข้าร่วมทำงานกับคนหมู่บ้าน เพื่อสุขภาพของชุมชน
คนในชุมชนมีความตระหนักในปัญหาเรื่องสุขภาพ ร่วมกันสร้างข้อตกลง
ในการแก้ไขปัญหาของชุมชน และหน่วยงานต่างๆเข้ามาสนับสนุน
คนในชุมชนสามารถมาเข้ารับบริการจากโรงพยาบาลได้ด้วยตนเอง
การส่งเสริมการดูแลสุขภาพตนเองเรื่องการเลือก
รับประทานอาหาร การออกกำลังกาย
5. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ภายในชุมชน
มีการจัดตั้งสภาหมู่บ้าน นำความรู้ที่ได้รับจากภาครัฐ
มาถ่ายทอดให้กับคนในชุมชน
การมีวินัยในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีอย่างสม่ำเสมอ
การมีผู้ใหญ่บ้านหรือสภาผู้นำที่เข็มแข็ง
อสม.ติดตามตรวจคัดกรองโรคความดัน เบาหวาน
เพื่อให้โรงพยาบาลรวบรวมเป็นข้อมูลสุขภาพ
คนในชุมชนมีความตระหนักในเรื่องการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง
การประชุมสภาอย่างต่อเนื่องทุกเดือน
ภายนอกชุมชน
หน่วยงานภาครัฐ คอยดูแลให้คำแนะนำ และกำกับติดตาม
ภาคเกษตร อำเภอ หน่วยงานการศึกษา มีส่วนช่วยเหลือ
สนับสนุน และขับเคลื่อนชุมชน
นางสาวพิชญ์กัลยา ท้าวสาลี เลขที่ 52 รหัส 601901055