Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่6 วิทยาการระบาดเชิงพรรณนา - Coggle Diagram
หน่วยที่6 วิทยาการระบาดเชิงพรรณนา
ความสำคัญของวิทยาการระบาดเชิงพรรณนา
ทำให้ทราบถึงสภาวะสุขภาพอนามัยของชุมชนในปัจจุบัน
นำไปใช้ในการวางแผนงานการให้บริการ
ใช้พิจารณาหาสาเหตุ ปัจจัยก่อโรค หรือปัญหาสุขภาพ
วัตถุประสงค์เกี่ยวกับวิทยาการระบาดเชิงพรรณนา
เพื่อศึกษาการกระจายและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
เพื่อนำไปสู่สาเหตุของการเกิดโรค
เพื่อหาแนวทางในการป้องกันเฝ้าระวังและควบคุมโรค
เพื่ออธิบายธรรมชาติของการเกิดโรค
รูปแบบการศึกษาทางวิทยาการระบาดเชิงพรรณนา
การศึกษารายงานผู้ป่วยและการเฝ้าระวังโรค
การศึกษาแบบภาคตัดขวาง
การศึกษาความสัมพันธ์
การศึกษาติดตามผล
การเขียนรายงานการศึกษาวิทยาการระบาดเชิงพรรณนา
ผู้วิจัยจะต้องคำนึงถึงประเด็นสำคัญ ดังนี้
1.นำเสนอเนื้อหาสาระถูกต้องครบถ้วน ชัดเจน ตรงประเด็น
2.ภาษาที่ใช้ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษา เป็นภาษาที่เหมาะสม
ไม่คลุมเครือ สั้นกะทัดรัดและสื่อความหมายได้ดี
3.การนำเสนอเนื้อหาสาระต้องคำนึงถึงจรรยาบรรณของนักวิจัย
4.ตรวจทานรายงานวิจัยที่เขียนเพื่อให้แน่ใจในความถูกต้องก่อนเผยแพร่ผลการศึกษาวิจัย
การเขียนรายงานการศึกษาวิทยาการระบาดเชิงพรรณนาสามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ ได้แก่ รายงานฉบับสมบูรณ์และรายงานฉบับย่อ
ซึ่งทั้ง 2 รูปแบบนั้นมีส่วนประกอบเหมือนกันจำแนกเป็น 4 ส่วน ได้แก่
1.ส่วนนำหรือส่วนประกอบตอนต้น
2.ส่วนเนื้อเรื่อง
3.ส่วนอ้างอิง
4.ส่วนภาคผนวก
การศึกษาวิทยาการระบาดเชิงพรรณนาโรคติดต่อ
หมายถึงการศึกษาการเกิดโรคติดต่อซึ่งอาจจะเป็นความชุก อุบัติการณ์ของโรค อัตราป่วย อัตราตาย และพรรณนาลักษณะการกระจายของโรค
การศึกษาวิทยาการระบาดเชิงพรรณนาโรคไม่ติดต่อ การศึกษาการเกิดโรคไม่ติดต่อ ซึ่งอาจจะเป็นความชุก อุบัติการณ์ของโรค อัตราป่วย อัตราตาย และพรรณนาลักษณะการเกิดโรคตามบุคคล สถานที่ แลtเวลา
การศึกษาวิทยาการระบาดเชิงพรรณนาโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
ทำให้ทราบสถานะทางสุขภาพอนามัยของผู้ปฏิบัติงาน ขนาดของการเกิดโรค และการกระจายของโรค การบาดเจ็บจากการทำงานตามลักษณะของผู้ปฏิบัติงาน สถานที่ และเวลา รวมทั้งแนวโน้มการเกิดโรคในอนาคต