Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท กล้ามเนื้อและกระดูก, โรคไข้กาฬหลังแอ่น…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท กล้ามเนื้อและกระดูก
ภาวะชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
สาเหตุ
ติดเชื้อในทุกระบบ ยกเว้นระบบประสาท
อาการ
ชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 ํC
ชักภายใน 24 ชม.แรก เมื่อเริ่มมีไข้
Simple febrile seizure (primary febrile seizure)
มีไข้ร่วมอาการชัก
ชักแบบทั้งตัว (Generalized seizure)
ก่อน - หลังอาการชัก ไม่มีอาการทางระบบประสาท
ไม่ชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
ชักไม่เกิน 15 นาที
Complex febrile seizure
การชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทั้งตัว (Local or Generalized seizure)
ชักนานกว่า 15 นาที
เกิดการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
หลังอาการชัก มีความผิดปกติของระบบประสาท
โรคลมชัก (Epilepsy)
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ
ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง , สารพิษและยา , โรคหลอดเลือดสมอง , โรคทางพันธุกรรม
ไม่ทราบสาเหตุ
ความผิดปกติของ Neurotransmission เกิดจากจากความผิดปกติของยีน
หาสาเหตุไม่ได้
มีพยาธิสภาพภายในสมอง จัดอยู่ในกลุ่ม Symtomatic epilepsy
อาการ
Preictal period (ระยะก่อนการชัก)
อาการนำ (Seizure prodromes)
อาการเตือน (Aura)
ลักษณะอาการเตือนแตกต่างกันตาม ตำแหน่งของสมอง เช่น มีอาการปวด ชา เห็นภาพหลอน
Ictal event หรือ Peri-ictal period (ระยะชัก)
เกิดขึ้นทันทีทันใด ไม่เกิน 5 นาทีและหยุดเอง
ชักเองหรือมีปัจจัยกระตุ้น ลักษณะการชักเหมือนกันทุกครั้ง
Postictal peroid (สิ้นสุดระยะชัก)
เกิดขึ้นนานเป็นวัน ไม่เกิน 24 ชม. มีอาการ สับสน อ่อนเพลีย ปวดศรีษะ
Postical paralysis หรือ Todd’s paralysis (กล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉพาะที่)
Automatism (ร่างกายเคลื่อนไหวอัตโนมัติขณะชัก)
เคี้ยวปาก กระพริบตาถี่ๆ ตีมือคว่ำหงายสลับกัน
Interictal peroid (ช่วงเวลาระหว่างการชัก)
เริ่มตั้งแต่สิ้นสุดการชักครั้งที่ 1 - เริ่มการชักครั้งใหม่
ไม่พบอาการแสดง คลื่นไฟฟ้าสมองผิดปกติ
ลักษณะอาการชัก
อาการชักเฉพาะที่ (Partial / Focal seizure)
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ (Simple partial seizures /Simple focal seizure)
อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสติ (Complex partial seizures /Complex focal seizure)
อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว (Focal with secondarily generalized seizures)
อาการชักทั้งตัว (Generalized seizures)
อาการชักเหม่อ (Absence)
อาการเกร็งกระตุก (Tonic clonic seizures)
อาการชักกระตุก (Clonic seizures)
อาการชักเกร็ง (Tonic seizures)
อาการชักตัวอ่อน (Atonic seizures)
อาการชักสะดุ้ง (Myoclonic seizures)
ท่าทางของเด็ก (posturing)
ท่าทางเด็กภาวะไม่รู้สึกตัว
Decorticate posturing
ท่าเด็กนอนหงาย งอแขนเข้าหาตัว กำมือแน่นและงอข้อมือ เหยียดขาออก งอปลายเท้าเข้าหากัน
ท่าทางเด็กหมดสติ
Decerebrate posturing
ท่าเด็กนอนหงาย แขนเกร็งเหยียดออกและคว่ำแขนลง บิดข้อมือออกด้านข้าง เกร็งขาเหยียดออก แยกออกจากกัน
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
พบมากในเด็กอายุ 5 ปี
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย 3 ตัว
Haemophilus influenzae
Neisseria meningitidis
Streptococcus peumoniae
Neisseria meningococcus
ติดต่อทางเดินหายใจ น้ำมูก น้ำลาย
อาการ
ไข้สูง หนาวสั่น ปวดศรีษะรุนแรง ปวดข้อ ชัก ซึม หมดสติ คอแข็ง (Nuchal rigidity)
ติดเชื้อ meningococcus จะตรวจพบผื่นแดงที่ผิวหนัง จุดเลือดออกกระจายทั่วๆไป มีเลือดออกที่ต่อมหมวกไต
Neutrophil ร้อยละ 85 - 95
CSFประมาณ 1,000-100,000 เซลล์/คิวบิคมิลลิเมตร
โรคไข้กาฬหลังแอ่น (Meninggococcal Meingitis)
วิธีการติดต่อ
ติดต่อจากคนสู่คน เชื้อออกมาทางน้ำมูก น้ำลาย (Droplet)
ระยะฟักตัว 3 - 4 วัน
เกิดจากเชื้อ Neisseria meningitides
เชื้อเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ :
เชื้อเจริญใน nasopharynx
ทำให้เกิดการอักเสบเฉพาะที่เล็กน้อย ไม่มีอาการ
เชื้อแพร่เข้ากระแสเลือดหรือเลือดเป็นพิษ (meningococcemia)
ผื่น เลือดออกตามผิวหนัง ในรายที่รุนแรงจะมีเลือดออกในลำไส้และต่อมหมวกไต
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitidis)
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
อาการ
Meningococcemia
Acute Meningococcemia
อาการนำ ปวดศีรษะ เจ็บคอ ไอ ไข้สูง หนาวสั่น ปวดตามข้อและตามกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะที่ขาและหลัง มีผื่นแดงจ้ำขึ้นตามตัว ใน 2-3 วันต่อมา จะเปลี่ยนเป็นสีคล้ำจนเป็นสะเก็ดสีดำบางทีเป็นตุ่มน้ำ มีจุดแดงอยู่ตรงกลาง ส่วนใหญ่จะมีผื่นหลังไข้ขึ้น 24-48 ชั่วโมง
Chronic Meningococcemia
มีไข้ ผื่นตามผิวหนัง ผื่นแดงจ้ำ ปวดและเจ็บข้อไข้จะเป็นๆ หายๆ
Fulminant Meningococcemia
อาการไข้สูงทันทีอ่อนเพลียมาก
Meningitis
มีอาการไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ซึมและสับสน อาการแย่ลงอย่างรวดเร็ว อาจพบอาการที่แสดงถึงการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง ผู้ป่วยจะมีจ้ำเลือดออกตามผิวหนัง
การรักษา
Glucocorticoid therapy ก่อนการให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
ยาปฏิชีวนะ เช่น Ceftriaxone /PGS/Chloramphenicol
การรักษาแบบประคับประคองและตามอาการ
** เสี่ยงเกิดโรคลมชัก แพทย์ให้ยาป้องกันการชัก เช่น Phenobarbital หรือ Valproic acid
พบในเด็กที่ถูกทำลายเนื้อสมองส่วน Cerebral cortex
พบในเด็กที่สมองส่วน Midbrain ทำงานผิดปกติ