Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจพิเศษ, โดย นางสาวชุติมณฑน์…
การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจพิเศษ
Biochemical Assessment
Amniocentesis
การเจาะดูดถุงน้ำคร่ำซึ่งอยู่ล้อมรอบตัวทารกผ่านทางหน้าท้องมารดาเข้าสู่โพนงมดลูกและถุงน้ำคร่ำ
วัตถุประสงค์
ตรวจหาความผิดปกติโครโมโซม
ตรวจหาความสมบูรณ์ของปอด
L/S ratio
การแปลผล
L/S > 2 แสดงว่าปอดทารกเจริญเติบโตเต็มที่
Shank test
ชนิด 2 หลอด
เกิดฟองอากาศทั้ง2หลอดและคงอยู่นาน 15 นาที แสดงว่าปอดทารกเจริญเติบโตเต็มที่
ขนิด 5 หลอด
เกิดฟองอากาศ 3 หลอด แสดงว่าปอดทารกเจริญเติบโตเต็มที่
ภาวะแทรกซ้อน
เลือดออกทางช่องคลอด
ติดเชื้อที่ถุงน้ำคร่ำ
ทารกบาดเจ็บ
talipes equinovarus
การพยาบาล
ก่อนเจาะ
ให้คำปรึกษาและข้อบ่งชี้ในการตรวจ
นัดล่วงหน้า
ให้ลงนามในใบอนุญาตยอมรับการตรวจ
ให้ผู้รับบริการถ่ายปัสสาวะ
ทำความสะอาดหน้าท้อง
ขณะเจาะ
อยู่กับผู้รับบริการขณะแพทย์ทำหัตถการ
สังเกตุอาการผิดปกติ
หลังเจาะ
ให้นอนหงาย กดแผลนาน1นาที และปิดแผลด้วยพลาสเตอร์
ให้นอนพักสังเกตอาการ 30 นาที - 1 ชั่วโมง
ฟัง FHS ทุก 15 นาที จนครบ 1 ชั่วโมง
ไม่จำเป็นต้องทำความสะอาดแผล สามารถเปิดแผลและอาบน้ำตามปกได้ในวันถัดไป
หลีกเลี่ยงการกระทบกระเทือนหน้าท้อง 1-3 วันหลังเจาะ
งดมีเพศสัมพันธ์ 1 สัปดาห์
แนะนำสังเกตอาการแทรกซ้อน
GA 16-18 สัปดาห์
esttiol
ปัสสาวะ
วิธี
เก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
ตรวจ3 ครั้ง/สัปดาห์
เริ่ม GA 28 สัปดาห์
เลือด
วิธี
เก็บเลือดดำ 2 มิลลิลิตร
เจาะเลือดเวลาเดียวกันทุกครั้ง
Alfha-fetoprotien
วัตถุประสงค์
เพื่อประเมินความพิการแต่กำเนิดและความผิดปกติทางโครโมโซมของทารก
ค่าปกติ 2.0 - 2.5 MOM
Chorionic Villi Sampling
GA 8-11 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน
การแท้ง
การติดเชื้อ
ทารกพิการแต่กำเนิด
ถุงน้ำคร่ำรั่ว
การพยาบาล
อธิบายเหตุผล วิธีการตรวจ และการปฏิบัติตัวหลังตรวจ
จัดท่า lithotomy
วัด V/S
เตรียมอุปกรณ์
ให้กำลังใจและอยู่เป็นเพื่อนขณะแพทย์ทำหัตถการ
จัดเตรียมภาชนะใส่ พร้อมเขียนชื่อ-สกุลให้ถูกต้อง
ตรวจเสร็จให้นอนพักและวัด V/S
แนะนำงดทำงานหนัก 1 วัน
แนะนำงดมีเพศสัมพันธ์ 1-2 สัปดาห์
แนะนำสังเกตอาการผิดปกหลังทำ เช่น ปวดท้อง มีเลือดออก
Fetal blood sampling
GA 18 สัปดาห์ขึ้นไป
วัตถุประสงค์
วินิจฉัยทารกของทารกก่อนคลอด
ประเมินทารกในครรภ์
ภาวะแทรกซ้อน
เสียเลือดมากเกินไป
หัวใจทารกเต้นช้า
คลอดก่อนกำหนด
การปะปนเลือดมารดาสู่ทารก
ติดเชื้อ
การพยาบาล
ประเมินภาวะเลือดออกจากสะดือ
Fetal monitoring 30-60 นาที หลังตรวจ
ฟัง FHS
บันทึกการดิ้นทารก
ประเมินสภาพทารก
Biophysical Assessment
Ultrasound
วัตถุประสงค์
วินิจฉัยอายุครรภ์
ติดตามการเจริญเติบโต
วินิจฉัยความพิการ
วินิจฉัยครรภ์แฝด
หาสาเหตุเลือดออกทางช่องคลอด
ตรวจหาตำแหน่งผิดปกติของรก
การพยาบาล
ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการตรวจ
NPO
เตรียมอุปกรณ์ สถานที่
เปิดผ้าคลุมเฉพาะบริเวณหน้าท้อง
ทำความสะอาดหน้าท้อง
บันทึกผล
GA 7-10 สัปดาห์
Amniotic fliud volume measurement
MVP
วัดแอ่งลึกที่สุดของน้ำคร่ำ
ค่าปกติ 2.1 - 8 ซม.
0-2 ซม. = ภาวะน้ำคร่ำน้อย
มากกว่า8 ซม.= ภาวะน้ำคร่ำมาก
AFI
วัดดัชนีน้ำคร่ำ
ค่าปกติ 5 - 25 ซม.
น้อยกว่า 5ซม. = ภาวะน้ำคร่ำน้อย
มากกว่า25ซม. = ภาวะน้ำคร่ำมาก
Biophysical profile
ใช้ตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูง
GA 28 สัปดาห์ขึ้นไป
premeters 5 อย่างที่ใช้ประเมิน
Fetal brething movement
Fetal movement
Fetal tone
reactive fetal heart rate
Amniotic fluid volume
คะแนน
เต็ม 10 คะแนน
scale
0
2
การแปลผล
8-10 = ปกติ
4-6 = ผิดปกติ ติดตามอาการ
0-2 = ผิดปกติ ยุตการตั้งครรภ์
Radiography
GA 20 สัปดาห์ขึ้นไป
วัตถุประสงค์
ดู fetal skeleton
วินิจฉัยทารกตายในครรภ์
spalding's sign
Deuel's sign
Fetal movement count
DFMP ของSadovaski
นับ เช้า/เที่ยง/เย็น ครั้งละ 1ซม.
1 ชั่วโมงต้องมากกว่า 3 ครั้ง
The cardiff ของ pearson
Count to ten
ครบ 10ครั้ง ไม่เกิน 12 ซม.
Liston
เริ่มนับอายุครรภ์ 28 สัปดาห์
นับเหมือนของ pearson
Electronic Fetal monitoring
Nonstress test
การแปลผล
Reactive
FHS 110-160 ครั้ง/นาที
FHS เพิ่มจาก baseline 15ครั้ง/นาที คงอยู่นาน 15 วินาทีขึ้นไป
Non-reactive
FHS ไม่เพิ่มตามเกณฑ์
Contraction stress test
การแปลผล
Negative
ไม่มี late deceleration
base line veriable ปกติ
Positive
มี late deceleration
base line veriable ลดลงกว่าปกติ
การพยาบาล
อธิบายขั้นตอนการทำ
จัดท่า semi-fowler
วัดความดันโลหิตก่อนทำ
ใช้ tocodynamometer คาดหน้าท้องมารดา
ใช้ Doppler FHS transducer คาดหน้าท้องมารดา
ให้มารดากด maker ทุกครั้งที่ทารกดิ้น
ครบ 20 นาที อ่านผลและปลดอุปกรณ์ออกจากหน้าท้องมารดา
โดย นางสาวชุติมณฑน์ อุดมศรี เลขที่ 21