Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาวะ
การดูแลช่วยเหลือมารดาและทารก
ในระยะที่ 2, 3 และ 4…
การประเมินภาวะสุขภาวะ
การดูแลช่วยเหลือมารดาและทารก
ในระยะที่ 2, 3 และ 4 ของการคลอด
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
การตัดและซ่อมแซมฝีเย็บ
-
สาหตุของการตัดฝีเย็บ
- ความสมดุลระหว่างศีรษะทารกกับฝีเย็บ
- การคลอดเกิดขึ้นอยางรวดเร็วฝีเย็บถูกยืดขยายอย่างรวดเร็ว
3.การคลอดโดยเฉพาะ
- การใช้คีมเพราะความกว้างของ shank
- การตัดเอาทารกออกเป็นส่วน (Decapitation)
โดยไม่ระวังฝีเย็บ
-
ประโยชน์ของการตัดฝีเย็บ
- ลดอันตรายต่อสมองทารก
เนื่องจากการที่ศีรษะทารกถูกกดกับบริเวณปากช่องคลอดนาน
- ป้องกันการฉีกขาดของ Perineal body, External anal sphincter และผนังของrectum
- ป้องกันการฉีกขาดหรือการยืดหย่อนของ Pelvic floor
- สะดวกกการซ่อมซมฝีเย็บจะทำให้ขอบแผลเรียบง่ายต่อการเย็บ แผลหายเร็ว
- ช่วยลดระยะที่ 2 ของการคลอด
-
ข้อดี-ข้อเสียของฝีเย็บแต่ละชนิด
-
- J incision
เป็นการตัดฝีเย็บจาก posterior fourchette โดยตัดตรงลงมาก่อนแล้วจึงตัดโค้งออกไปทางด้านข้างคล้ายรูปตัว "J"
ข้อดี ทั้ง
- median episiotomy คือซ่อมแซมได้ง่ายกว่า
- mediolateral episiotomy คือ ทำให้เกิด Third-fourth degree tears น้อยกว่าและเพิ่มความกว้างของช่องทางคลอดได้มากกว่า
แต่วิธีนี้ยังไม่เป็นที่นิยมและยังไม่มีงานวิจัยที่แน่นอนรองรับ
-
- Inverted T incision
เป็นการตัดฝีเย็บที่มีทำหลังการตัดวิธี Median episiotomy
เพื่อเพิ่มความกว้างของช่องทางคลอด ซึ่งไม่เป็นที่นิยม
- Lateral episiotomy
การตัดฝีเย็บที่จุดเริ่มต้น 1-2 เซนติเมตร จากจุดกึ่งกลางฝีเย็บโดยตัดไปทาง ischial tuberosity ซึ่งไม่เป็นที่นิยม
-
-
ประเมินผู้ตาม 5B
-
4) Bleeding ,Lochia and Episiotomy
-
-
-
-
หลักการซ่อมแซมฝีเย็บ
- ในการเย็บต้องแหวกให้เห็นขอบแผลชัดเจน
- ให้ระวังการติดเชื้อให้มากที่สูด
- เย็บให้รูปร่างเดิมมากที่สุด ขอบแผลให้ชิดกันพอดีโดยเฉพาะบริเวณช่องคลอด
- ไม่ตักเข็มลึกจนเกินไปจนผ่านผนังของลำไส้ส่วนล่าง
เพราะจะทำให้แผลติดเชื้อ และไม่ตื้นเกินไปจนมีช่องโหว่
- เย็บเนื้อเยื่อข้างในสุดออกมาข้างนอกและเย็บชั้นลึกขึ้นมาเป็นชั้นๆ
ควรระวังขอบแผลให้เรียบไม่ย่น
- อย่าเย็บถี่เกินไป เพราะปมที่เย็บจะรวมกันทำให้มีแผลเป็นขนาดใหญ่
- ไม่ดึงแผลให้แน่นเกินไป
เพราะจะทำให้เลือดมาเลี้ยงไม่สะดวก แผลหายช้าและแผลบวม
- ภาวะแทรกซ้อน ที่ต้องเฝ้าระวัง คือ
- การมีเลือดคั่งที่แผล โดยผู้คลอดจะมีอาการเจ็บแผลมากกว่าปกติ แผลนูนผิดปกติ
- เมื่อกดที่บริเวณนั้นจะแข็งและมีสีม่วงคล้ำ
- ถ้ามีก้อนเลือดคั่งต้องเปิดแผลเอาก้อนเลือดออกแล้วเย็บแผลใหม่ให้เลือดหยุด
----------------> เช่น
- การใช้ถุงตวงเลือด
- การชั่งน้ำหนัก
-