Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะตกเลือดหลังคลอด (Postpartum hemorrhage) -…
ภาวะตกเลือดหลังคลอด (Postpartum hemorrhage)
ความหมาย
:<3:
การเสียเลือดผ่านทางช่องคลอด ภายหลังทารกคลอดในปริมาณ
"มากกว่า 500 ml หรือ ร้อยละ 1 ของน้ำหนักตัวมารดา
"
:
Early /primary PPH
:point_right: ภายใน 24 ชั่วโมงแรก หลังคลอด
Late /secondary PPH
:point_right: ภายหลังคลอด 24 ชั่วโมงจนถึง 6 สัปดาห์หลังคลอด
อุบัติการณ์
:<3:
พบว่า
ทุกๆ 4 นาทีจะมีการเสียชีวิตของมารดา 1 คนจากภาวะตกเลือดหลังคลอด
องค์การอนามัยแม่และเด็กในประเทศไทยปีพ.ศ 2533 -2559
พบว่าสาเหตุการตายของมารดา จากการตกเลือดเนื่องจากการตั้งครรภ์และการคลอดสูงเป็นอันดับแรกมาโดยตลอด
ภาวะตกเลือดหลังคลอดปฐมภูมิจำแนกระดับความรุนแรงของปริมาตรเลือดที่ออก
:<3:
PPH
:point_right: ปริมาณเลือด มากกว่า 500 ml
Minor PPH
:point_right: ปริมาณน้อยกว่า 1000 ml
Major / Massive PPH
:point_right: ปริมาณเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 1,000 มิลลิลิตร
Moderate PPH
:point_right: ปริมาณเลือด 1000-2000 ml
Severe PPH
:point_right: ปริมาณเลือดมากกว่า 2,000 มิลลิลิตร
Life threatening PPH
:point_right: ปริมาณเลือดมากกว่า 2,500 มิลลิลิตร
ความรุนแรงของการเสียเลือดกับสัญญาณชีพที่เปลี่ยนไป
:<3:
ระดับของภาวะช็อค :
ปานกลาง
ปริมาตรการสูญเสียเลือด :
1500-2000
ร้อยละของการสูญเสียเลือด
: 30-40
ความดันโลหิต systolic :
ลดลงปานกลาง (70-80)
อาการและอาการแสดง :
กระสับกระส่าย ซีดลง ปัสสาวะออกน้อย
ระดับของภาวะช็อค :
สามารถปรับตัวได้
ปริมาณเลือดที่สูญเสีย :
500-1000 ml
ร้อยละของการสูญเสียเลือด :
10 - 15
ความดันโลหิต systolic :
ปกติ
ชีพจร :
ปกติ
อาการและอาการแสดง :
ใจสั่น เวียนศีรษะ
ระดับของภาวะช็อค :
เล็กน้อย
ปริมาณการสูญเสียเลือด :
100-1500 ml
ร้อยละของการสูญเสียเลือด :
15-30
ความดันโลหิต systolic :
ลดลงเล็กน้อย (80-100)
อาการและอาการแสดง :
อ่อนเพลีย ชีพจรเต้น เร็วเหงื่อออก
ระดับของภาวะช็อค :
รุนแรง
:
ปริมาตรการสูญเสียเลือด :
2000-3000 ml
ร้อยละของการสูญเสียเลือด :
มากกว่า 40
ความดันโลหิต systolic :
ลดลงมาก (50-70)
ชีพจร :
มากกว่า 140
อาการและอาการแสดง
หมดสติ หายใจลำบาก ไม่มีปัสสาวะ
การตกเลือดในระยะก่อน ระยะปฐมภูมิ (Early or Primary postpratum hemorrhage)
:<3:
สาเหตุ
Tone (Uterine atony)
สาเหตุของ Tone
การติดเชื้อของมดลูก ทำให้มีการอักเสบ บวม มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
การคลอดยาก หรือการใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
การคลอดบุตรหลายครั้งโดยเฉพาะมากกว่า 5 ครั้ง
การเจ็บครรภ์คลอดที่เนิ่นนาน หรือการคลอดเร็วเกินไป
มดลูกมีการยืดขยายมากผิดปกติ Twin/polyhydra./ทารกตัวโต
การใช้ยาบางชนิด เช่น ฮาโลเทน มีฤทธิ์ทำให้มดลูกคลายตัว , Oxytocin ใช้เร่งคลอด หากปริมาณมาก มดลูกออนล้าได้
ภาวะเลือดออกก่อนกำหนด
รกเกาะต่ำ
ทำให้เกิดแผลบริเวณมดลูกส่วนล่าง
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ทำให้มีเลือดแทรกอยู่ระหว่างกล้ามเนื้อมดลูก ทำให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
คือ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี เกิดจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี มีรูเปิดของหลอดเลือดบริเวณที่รกลอกตัว ทำให้เลือดออกจำนวนมาก พบ 70% ของผู้ป่วยทั้งหมด
Trauma
คือ
การตกเลือดที่เกิดจากการฉีกขาด และการบวมเลือดของปากมดลูก ช่องทางคลอด ฝีเย็บ รอบท่อปัสสาวะ
สาเหตุของ Trauma
การทำคลอดและช่วยคลอดที่ไม่ถูกต้อง การใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด ในขณะที่ปากมดลูกยังเปิดไม่หมด
การคลอดเร็วผิดปกติ ทำให้ช่องคลอดฉีกขาด
การตัดฝีเย็บที่ไม่ถูกวิธีหรือเร็วเกินไป ทำให้เลือดออกมาก
เสียเลือดจากการฉีกขาดของหลอดเลือดฝอย หรือเส้นเลือดดำขอดพอง
ภาวะ CPD ทำให้เกิดมดลูกแตกได้
มดลูกบางกว่าปกติ จากการตั้งครรภ์ คลอดหลายครั้ง ผ่าตัดเนื้องอกมดลูก C-S มดลูกฉีกขาดและมีแผลต่อลงมาที่ปากมดลูกและช่องคลอด ทำให้เกิด PPH ได้
Tissue
สาเหตุของ Tissue
รกค้าง
กรณีรกลอกตัวหมดแล้ว แต่รกทั้งอันยังค้างอยู่ในโพรงมดลูก ทำให้มีเลือดออกมาก เกิดจากสาเหตุดังนี้ การให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ทำคลอดรกไม่ถูกวิธี การให้ก่อนคลอดรก หรือการกระตุ้นมดลูกอย่างรุนแรงก่อนคลอดรก
กรณีรกลอกตัวเป็นบางส่วน ซึ่งเกิดจากการที่รกเกาะลึกหรือเกาะติดแน่น ทำให้มีเลือดออกตลอดเวลา จากบริเวณที่รกลอกตัวไปแล้ว หรือรบมี Infact เป็นบริเวณกว้าง
การมีเศษรกค้าง
การทำคลอดรกผิดวิธี เช่น การดึงสายสะดือ การล้วงรก เป็นต้น
ความผิดปกติของรก เช่นรกมีขนาดใหญ่ หรือ รกเกาะลึก ร่วมกับการทำคลอดรกผิดวิธี
การมีรกน้อย เช่น Placenta succenturiata รกเหล่านี้ ส่วนใหญ่จะลอกตัวหมด แต่ถ้าทำคลอดรกผิดวิธี จะเกิดการตกค้างของรกน้อยได้
คือ
การตกเลือดที่เกิดจาก รก และเนื้อเยื่อหุ้มรกค้างอยู่ในโพรงมดลูก
4.Thrombin
คือ
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติหรือเสียเลือดก่อนคลอด โรคเลือด เช่น Aplastic anemia, ITP เป็นต้น ได้รับยา Anticoagulant มีประวัติเป็นโรคตับ HELLP Syndrome
การป้องกันการตกเลือดหลังคลอด ระยะแรก
ระยะก่อนคลอด
ซักประวัติ
: เพื่อหาปัจจัยเสี่ยงของ PPH
การตรวจร่างกาย
ค้นหาภาวะโลหิตจาง เพื่อให้ธาตุเหล็ก
Keep Hct มากกว่าหรือเท่ากับ 33% (Hb มากกว่าหรือเท่ากับ 11 g/dl)
เตรียมการเพื่อดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคประจำตัวซึ่งเสี่ยงที่จะเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดปฐมภูมิ เช่นสตรีตั้งครรภ์โรคธาลัสซีเมีย, กลุ่ม Rh D negative หรือ IPD เป็นต้น
ระยะคลอด
ดูแลไม่ให้คลอดยาวนาน
ระวังการให้ยาแก้ปวดในขณะที่มากเกินไป เพราะอาจเกิดผลต่อการหดรัดตัวของมดลูก
ทำคลอดในระยะที่ 2 และระยะที่ 3 อย่างถูกต้องเหมาะสม
หลีกเลี่ยงการทำสูติศาสตร์หัตถการอย่างยาก
ตรวจโรคและช่องทางคลอดอย่างละเอียด
ระยะหลังคลอด
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง ช่วยกระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะภายใน 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
ในรายที่ได้รับยากระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์ อาจให้ Oxytocin หลังมากขึ้นเพื่อให้มดลูกหดรัดตัวได้ดี
ผลจากการตกเลือดหลังคลอด
ระยะทันทีภายหลังคลอด
มีอาการ
:point_right: ใจสั่น ซีดลง ชีพจรเบาเร็ว BP drop shock ส่งผลให้ อวัยวะล้มเหลว ได้แก่ ไตวาย หัวใจวาย อาจตายได้
หากเลือดมาก
หากเลือดมากจน Anterior pituitary ขาดเลือดไปเลี้ยง
:point_right: ทำให้การทำงานของระบบต่อมไร้ท่อบกพร่อง ได้แก่ ต่อมไทรอยด์ ต่อมหมวกไต และรังไข่ ส่งผลให้เกิดอาการไม่มีน้ำนมหลังคลอด เต้านมเหี่ยว ระดูขาดและขนของอวัยวะเพศร่วง อ่อนเพลีย ขาดความสนใจสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นกลุ่มอาการที่เรียกว่า Sheehan's Syndrome
การวินิจฉัยการตกเลือด:
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เพื่อหาสาเหตุการตกเลือดหลังคลอด ได้แก่ Prothrombin time (PT) ,Partail thromboplastin time(PTT) , Clotting time ,Platelet cout
การตรวจดูชิ้นส่วนของโรคที่อาจค้างอยู่
ด้วยการตรวจโรคที่คลอดแล้วอย่างละเอียด หรือการใช้มือตรวจภายในโพรงมดลูก
อาการและอาการแสดง
การมีเลือดออก
อาจจะเห็นหรือไม่เห็นทางช่องคลอดจะแตกต่างกันดังนี้
หากมีเศษรกค้าง
:point_right: ส่วนใหญ่จะเกิดใน Primary PPH ถ้ารกเล็กมากๆ ทำให้เกิด Secondary PPH
หากเกิดจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
:point_right: เลือดจะมีสีคล้ำ ลิ่มเลือดปน หยุดไหลเมื่อมดลูกหดรัดตัวดี
การฉีกขาดของหนทางคลอด
:point_right:
"เลือดเป็นสีแดงสด"
มดลูกปลิ้น
:point_right:
"มีเลือดพุ่งออกมา"
ให้เห็นเป็นจำนวนมาก และอาจมีลิ่มเลือดสีแดงคล้ำปนออกมาด้วย
เกิดเลือดคั่งที่เอ็นยึดมดลูก
:point_right:
" ไม่ปรากฏเลือดไหล
" ออกมาให้เห็นภายนอก
การฉีกขาดของหลอดเลือดฝอย
:point_right:
"พุ่งแรงตามจังหวะของชีพจรหรือไหล"
ไม่หยุดแม้มดลูกจะแข็งตัว
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ระดับของมดลูกจะสูงและโต อาจถึงระดับสะดือหรือเหนือสะดือได้ กรณีที่มดลูกหดรัดตัวดีแต่ยังมีเลือดออกจากช่องคลอดมากจะทำให้เกิดการฉีกขาดของช่องทางคลอด
อาการแสดงของภาวะตกเลือด
หน้าซีด ชีพจรเต้นเร็วระยะแรกจะหายใจเร็ว ต่อมาจะหายใจช้า ใจสั่น เหงื่อออกมาก อ่อนเพลีย ความดันโลหิตต่ำ หมดสติ และถึงแก่ชีวิตได้
แนวทางการรักษาตามหลักการ
Active management of the third stage of labour
ได้รับการยอมรับว่าสามารถลดอุบัติการณ์ของภาวะตกเลือดหลังคลอดปฐมภูมิได้อย่างชัดเจน
หลักการ
การนวดมดลูกภายหลังคลอด (Uterine massage)
การให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก (Uterotonic drugs)
ยาที่ดีและปลอดภัยในการบริหารยามากที่สุด คือ Oxytocin เพราะสามารถลดความเสี่ยง Primary PPH มาถึงร้อยละ 60 จึงแนะนำให้ใช้เลือก เป็นลำดับแรก
สำหรับยาอื่นๆจำเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง
ซึ่งยาที่แนะนำให้ใช้ในการป้องกันการตกเลือดหลังคลอดระยะแรก คือ Oxytocin , Methergin และ Misoprostol (Cytotec)
:<3:
ยา Oxytocin
ให้ทาง IV(Slowly push) IM IV Drip
ผลข้างเคียง
BP drop ,หัวใจเต้นผิดจังหวะ หยุดเต้น ฉีดอย่างรวดเร็ว ,Water intoxication
:<3: ยา Methergin
0.2 mg ให้ทาง IM หรือ IV(Slowly push)
ห้ามใช้ใน
ผู้ป่วยโรคหัวใจ, ไมเกรน, ความดันโลหิตสูง, PIH
:<3:
ยา Cytotec
800 mcg. SL 800-1000 mcg.Rectalไข้, หนาวสั่น ,ระคายเคือง ,GI
ใช้ได้กับ
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง หอบหืด ระวังในผู้ป่วยโรคหัวใจ
:<3: ยา Nalador
Max
: 500 mcg/hr และ น้อยกว่า 1,500 mcg/day , ติดต่อกัน น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
ผลข้างเคียง
ห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคหอบหืด โรคความดันโลหิตสูง โรคไต ตับ Thyrotoxication มีประวัติสูบบุหรี่ภายใน 2 ปีที่ผ่านมา
การทำคลอดรกด้วยวิธี Controlled cord traction
คือ การทำคลอดรกโดยไม่รอให้มีอาการแสดงของโรครอบตัว
จำเป็นต้องได้รับการเรียนรู้และฝึกฝนก่อนปฏิบัติจริง
เสี่ยงต่อการเกิด ชิ้นส่วนรก เยื่อหุ้มเด็กค้าง หรือสายสะดือขาด มดลูกปลิ้น
พระราชบัญญัติวิชาชีพพยาบาลยังไม่รองรับให้พยาบาลวิชาชีพทำคลอดรกโดยวิธี Controlled cord traction
การนวดมดลูกภายหลังคลอด (Uterine massage)
ไม่มีหลักฐานทางการแพทย์สรุปอย่างชัดเจนว่าป้องกันภาวะตกเลือดหลังคลอดหรือไม่ แต่ยังคงแนะนำให้ทำหัตถการนี้ในเวชปฏิบัติ
ขั้นตอนการนวดมดลูกภายหลังคลอด
1.นวดมดลูกบริเวณยอดมนุษย์ผ่านทางหน้าท้องทันทีหลังการคลอดรกจนมดลูกหดรัดตัวดี
2.ตรวจสอบการหดรัดตัวของมดลูกทุก 15 นาที ร้านนวดคลึงมดลูกซ้ำหากตรวจพบว่ามีการหดรัดตัวไม่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
3.หายใจหยุดการนวดมดลูกต้องมั่นใจว่าการหดรัดตัวของมดลูกอยู่ในเกณฑ์ดีแล้ว
4.ไม่จำเป็นต้องนวดมดลูกตลอดเวลา สร้างความไม่สุขสบายและความเจ็บปวดให้กับผู้ป่วย และสูญเสียบุคลากรโดยไม่จำเป็น
5.หากบอลโลกของเราตัวดีในระยะ 2 ชั่วโมงแรกก็สามารถย้ายมารดาไปยังหอผู้ป่วยหลังคลอดได้
การรักษาการตกเลือดหลังคลอด
การตกเลือดก่อนคลอด
ตรวจวัดความดันโลหิต ชีพจร การหายใจ
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ คือ 5%D/W หรือ 5%D/NSS หรือ Ringer lactase solution (RLS) 1000 ml. ร่วมกับ Oxytocin 10 - 20 unit โดยเร็ว
เจาะเลือดมารดาเพื่อตรวจหาระดับความเข้มข้นของเลือด พร้อมทั้งขอเลือด เตรียมไว้อย่างน้อย 2 unit
ใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้ เพื่อวัดปริมาณของปัสสาวะที่ออกมา และลดสิ่งขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
ใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้ เพื่อวัดปริมาณของปัสสาวะที่ออกมา และลดสิ่งขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
ให้ยา Oxytocin 10-20 unit IM/IV เมื่อไหร่หน้าหรือศีรษะทารกคลอดแล้ว
ทำคลอดรกโดยวิธี Cord traction ทารกไม่คลอดให้ล้วงรกภายใต้ยาระงับความรู้สึกหรือยาระงับความเจ็บปวด หรือ ฉีด Pethidine 50 mg เข้าทางหลอดเลือดดำ
ตรวจโรคที่คลอดแล้วอย่างละเอียด
คลึงมดลูกให้หดรัดตัวตลอดเวลา
ฉีด Methergin 0.2 mg เข้าทางหลอดเลือดดำอีก ถ้าจำเป็นเพื่อกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก (ยกเว้นรายที่มีภาวะความดันโลหิตสูง)
กรณีภายหลังรกคลอดแล้ว ถ้าเลือดยังออกอยู่ให้ปฏิบัติข้อ 2 ต่อไป
การตกเลือดภายหลังรกคลอด
กรณีมดลูกหดรัดตัวไม่ดี และมีเลือดไหลออกมาทางช่องคลอดตลอดเวลา โดยมีทั้งน้ำเลือดและก้อนให้ปฏิบัติดังนี้
การดูแลรักษา
ให้ 5%D/W หรือ 5%D/NSS หรือ Ringer's lactase solution (RLS) 1,000 ml ร่วมกับ Oxytocin 10-20 unit ผสมอยู่ (กรณีที่ยังไม่ได้ให้) และขอเลือกเตรียมไว้ 2-4 unit
ฉีด Methergin 0.2 mg เข้าทางหลอดเลือดดำ
วางกระเป๋าน้ำแข็งบริเวณหน้าท้อง และคลึงให้มดลูกหดรัดตัวตลอดเวลา
กรณีการฉีกขาดของช่องทางคลอด ถ้ามดลูกหดรัดตัวดีแล้ว แต่ยังมีเลือดไหลออกมาเรื่อยๆ และสีค่อนข้างแดงสด ให้ใช้เครื่องมือถ่างขยายช่องคลอดให้เห็นภายในช่องคลอด แล้วปากมดลูกได้ชัดเจน ตรวจหารอยฉีกขาดบริเวณที่พบได้บ่อยคือ มีการฉีกขาด ต่อจากแผลฝีเย็บและบริเวณด้านข้างของปากมดลูก ให้เย็บรอยฉีกขาดเรานั้นจนเลือดหยุด
กรณีทำตามข้อ 1 และ 2 แล้วเลือดยังออกเรื่อยๆให้ตรวจภายในโพรงมดลูก ภายใต้การดมยาสลบโดยงดเว้นการ ฮาโลเทน ดูว่ามีก้อนเลือดหรือเศษรกค้างอยู่หรือไม่ถ้ามีก็พยายามล้วงออกมาให้หมดหรือขูดมดลูก เพื่อให้มดลูกหดรัดตัวนี้ขึ้น แต่ถ้าพบว่ามดลูกมีรอยฉีกขาดหรือทะลุให้รีบผ่าตัดเปิดช่องท้องทันที
กรณีทำตามข้อ 1 2 3 แล้วเลือดยังออกเรื่อยๆจะให้การรักษา ดังนี้
ตรวจ Venous clotting time ,Clot retraction time ,Clot lysis โดยเฉพาะในกรณีที่เลือดออกเป็นน้ำเลือดไม่แข็งตัวเป็นก้อน
ถ้าพบว่า Venous clotting time ก็ 15 นาทีหรือมี clot lysis เกิดขึ้นภายในเวลา 1-2 ชั่วโมง แสดงว่าเกิดภาวะไฟบริโนเจน ในเลือดต่ำ
แก้ไขโดยให้ พลาสมาสด หรือ พลาสมาแช่แข็ง หรือ Cryoprecipitate (1 unit มีไฟบริโนเจน 200-250 mg.)
ทำ Bimanual compression บนตัวมดลูก ในขณะที่ยังให้ยาสลบผู้ป่วย
โดยสอดกำมือขวาเข้าไปในช่องคลอด กดบริเวณ Anterior fornix และใช้มือซ้ายคลึงมดลูกบริเวณหน้าท้องให้แข็งตัวตลอดเวลา
พร้อมกับกลอนงดลูกมากดบริเวณกระดูกหัวหน่าวด้านหน้า เป็นการยืด Uterine vessel ให้ตีบลง เพื่อลดปริมาณเลือดที่ไหลมายังตัวมดลูก
กฎระเบียบผนังมดลูกให้เข้าหากันร่วมกับการคลึงมดลูกหดรัดตัวตลอดเวลา ใช้เวลาประมาณ 30 นาทีขึ้นไป
กรณีทำตามขั้นตอนดังกล่าวแล้วเลือดไม่หยุดไหลควรพิจารณาฉีด Prostaglandin ที่นิยมใช้มี 2 ชนิดให้เลือกใช้ชนิดใดชนิดหนึ่ง ได้แก่
Prostaglandin E2 analogue ได้แก่ nalador ในขนาด 0.5 mg ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือฉีดที่ปากมดลูก อาชีพซ้ำทุก 10 -15 นาที ให้ได้ไม่เกิน 6 ครั้ง
Prostaglandin E2 alpha ในขนาด 0.25 mg ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือฉีดที่ปากมดลูก อาชีพซ้ำทุก 15-90 นาที และให้ได้ไม่เกิน 8 ครั้ง
หากทำตามข้อ 1 ถึง 4 แล้วยังคงมีเลือดออกอยู่ได้เรื่อยๆ
หากทำตามข้อ 1 ถึง 4 แล้วยังคงมีเลือดออกอยู่ได้เรื่อยๆ
กรณีอายุน้อยและยังต้องการมีบุตรอีกให้ทำการผ่าตัดหลอดเลือด Internal iliac hypogastric เพื่อเก็บรูปไว้
ดูแลผู้ป่วยหลังการตกเลือดหลังคลอดอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะในระยะ 24 - 48 ชั่วโมงหลังคลอดโดย ปฏิบัติดังนี้
วัดสัญญาณชีพ ได้แก่ความดันโลหิต การหายใจ และกันระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
ตรวจหาระดับความเข้มข้นของเลือด และอาจต้องให้เลือดเพิ่มเติมถ้าจำเป็น
คำนวณหา I/O เพื่อป้องกันการให้สารน้ำมากหรือน้อยเกินไป
ให้ยา ATB ประเภทครอบคลุมเชื้อได้กว้างขวาง
ให้ยาบำรุงเลือด และอาหารที่มีประโยชน์อย่างเพียงพอ
สวนปัสสาวะออกให้หมด แล้วคาสายสวนไว้ เพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่าง ไม่ขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
คลึงมดลูกให้หดรัดตัวตลอดเวลา
การตกเลือดในระยะหลัง ระยะทุติยภูมิ (Late or Secondary postpratum hemorrhage)
:<3:
สาเหตุ
:
เลือดออกจากแผลของมดลูกภายหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องและมะเร็งไข่ปลาอุก เป็นไฝที่พบได้น้อยมาก มักเกิดภายในหลังคลอด 4 สัปดาห์
เลือดออกจากแผลภายในช่องคลอดมักเกิดจากการติดเชื้อบริเวณแผลภายในช่องคลอด
ภาวะติดเชื้อภายในโพรงมดลูก ผู้ป่วยมักมีอาการติดเชื้อ เช่น มีไข้ น้ําคาวปลามีกลิ่นเหม็น ปวดท้องน้อย มดลูกเข้าอู่ไม่ดี
มีก้อนเลือด หรือ เศษรกค้างภายในมดลูก เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุด มักเกิดภายหลังคลอดประมาณ 1-2 สัปดาห์
สาเหตุร่วมกันที่พบได้บ่อยได้แก่ ภาวะมีเศษรกค้างในโพรงมดลูกร่วมกับการติดเชื้อภายในโพรงมดลูก
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดง
มีเลือดออกทางช่องคลอด ถ้าเกิดอาการภายใน 3 สัปดาห์หลังคลอด
ส่วนใหญ่พบระหว่างวันที่ 7 - 14 หลังคลอด
อาการอื่นๆคล้ายกับการตกเลือดหลังคลอดระยะแรก
ผลของการตกเลือด
ภาวะซีด อ่อนเพลีย สุขภาพทรุดโทรม
ภูมิต้านทานโรคต่ำ ติดเชื้อได้ง่าย
เกิด Necrosis ของต่อมใต้สมองส่วนหน้า
(Sheehan's syndrome)
การรักษา
มีเศษรกค้าง หรือมีก้อนเลือดคั่งในโพรงมดลูก ให้ Oxytocin ขูดมดลูกด้วยความระมัดระวัง ผนังมดลูกมีลักษณะนุ่ม และทะลุได้ง่าย
มีการติดเชื้อภายในโพรงมดลูก ให้ยาช่วยการหดรัดตัวของมดลูก และให้ยา ATB
มีเลือดออกจากแผลภายในช่องคลอด ให้ทำความสะอาดและเย็บแผลให้เลือดหยุด ถ้าเนื้อเยื่อบริเวณแผลยุ้ยมาก เย็บแล้วเลือดไม่หยุด อาจต้องกดไว้หรือใช้ผ้าก๊อตยัดไว้ในช่องคลอดร่วมกับการใช้ยา ATB
กระบวนการพยาบาล
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
ประวัติความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์
เช่น ภาวะครรภ์เป็นพิษ (Amniotic) และทารกตายในครรภ์ ภาวะรกเกาะต่ำ ภาวะครรภ์แฝดน้ำ หรือการตั้งครรภ์แฝด
การซักประวัติส่วนตัว
เช่น ภาวะโลหิตจาง การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ประวัติทางสูติศาสตร์
การคลอดเร็ว คลอดยาวนาน ได้รับยาที่มีผลต่อการหดรัดตัวของมดลูก สูติศาสตร์หัตถการ ประวัติเคยตกเลือดหลังคลอด มดลูกแตกหรือการผ่าตัดมดลูก การทำคลอดรกขณะที่รถยังไม่ลอกตัว
การตรวจร่างกายตามระบบต่างๆโดยเฉพาะการตรวจดู
การหดรัดตัวของมดลูก นุ่ม/ยอดมดลูกสูง
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
การบวมเลือดของอวัยวะเพศ
การมีรก หรือ เยื่อหุ้มทารกค้างในโพรงมดลูก มีเลือดสดออกทางช่องคลอด
ซีด ตัวเย็น ชีพจรเบาเร็ว อ่อนเพลีย ความดันโลหิตต่ำ กระสับกระส่าย
ความรุนแรงของการเสียเลือด การมีเลือดออกทางช่องคลอด ปริมาณเลือด ลักษณะ สี กลิ่น
ความสามารถในการเข้าสู่อู่มดลูก ประเมินจากระดับยอดมดลูก
อาการติดเชื้อ เช่น มีไข้ น้ําคาวปลามีกลิ่นเหม็น ปวดท้องน้อย
การตรวจทางช่องคลอด พบเศษเยื่อหุ้มรกที่ปากมดลูก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
การตรวจหาหมู่เลือด
การตรวจเลือดเพื่อประเมินการแข็งตัวของเลือด
เช่น Platelets ,PT , :PTT , Fibrinogen depression
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะตกเลือดในระยะหลังคลอด เนื่องจากช่องคลอดมีการฉีกขาดที่ลึก
อาจเกิดภาวะ Hypovolemic shock เนื่องจากเสียเลือดในระยะหลังคลอดเป็นจำนวนมาก
อาจเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดเนื่องจาก มีความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด มดลูกหดรัดตัวไม่ดี ช่องทางคลอดฉีกขาดมีเศษ หรือเนื่อหุ้มทารกค้างในโพรงมดลูก
สัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกล่าช้า เนื่องจาก มีภาวะตกเลือดหลังคลอด