Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหัก, นางสาวศศิวิมล เพ็ชรสุภาพ เลขที่ 76 ห้องA รหัส…
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหัก
โรคคอเอียงแต่กำเนิด
ศีรษะเอียงจากแนวกึ่งกลางไปด้านใดด้านหนึ่งจากกล้ามเนื้อด้านข้างคอที่ยดระหว่างกระดูกหลังหูกับส่วนหน้าของกระดูกไหปลาร้าหดสั้นลง
อาการ
คลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น
ยืดโดยวิธีดัด
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง
การใช้อุปกรณ์พยุง
ผ่าตัด
bipolar release
กระดูกสันหลังคด
อาการ
โค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักไม่เท่ากัน ไม่อยู่ในระดับเดียวกัน
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด หายใจตื้น
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลำตัว
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา
ข้อศอกและเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ปวดเมื่อหลังคดมาก
การรักษา
กายภาพบำบัด บริหารร่างกาย
ผ่าตัด แก้ไขแนวตรงของร่างกาย รักษาระดับไหล่และสะโพก
กระดูกหัก
โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากันโดยสิ้นเชิง หรือติดกันเพียงบางส่วนหรือแตกร้าว
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก
กระดูกต้นแขนหัก
กระดูกข้อศอกหัก
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
กระดูกปลายแขนหัก
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด
ข้อเคลื่อน
การเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า
การพยาบาล
1.ประเมิน โดยการสังเกต คลำ ความสัมพันธ์ของอวัยวะ การเคลื่อนไหว ทดสอบความตึงตัว อาการเกร็งของกล้ามเนื้อ
2.เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
3.จัดกระดูกให้อยู่นิ่ง
3.1 เข้าเฝือกปูน
3.1.1 จัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
3.1.2 ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือก 24 hr จาก 5PS หรือ6P
3.1.3 ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
3.1.4เคลื่อนย้ายเด็กต้องระวังเฝือกหัก
3.1.5 ไม่ให้เฝือกโดนน้ำ
3.1.6 แนะนำเด็กและญาติในการดูแลเฝือก
3.2 ดึงกระดูก (traction)
ชนิดของ traction
Bryont's traction ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก
Over Head traction หรือSkeletal traction the upper line รักษากระดูกหักที่ต้นแขน
Dunlop's traction ใช้กับในรายที่มี Displaced Supracondylar Fractureที่ไม่สามารถดึงได้เข้าที่ หรือในรายที่บวมมาก
Skin traction ในรายที่facture shaft of femur
Russell's traction ในเด็กโตที่มีfacture shaft of femur หรือ Fractureบริเวณ supracondyla region of femur
3.3 ผ่าตัดทำ ORIF
เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่โดยใช้โลหะยึดเอาไว้ อาจใช้ plate,screw,nailหรือ wire พิจารณาทำในรายที่กระดูกหักมาก
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
1.ประเมินระดับความรู้สึกตัว จัดท่านอนราบไม่หนุนหมอน
2.ประเมินความเจ็บปวดโดย pain scale
3.ประเมินปริมาณเลือดออกบริเวณแผลผ่าตัด
นางสาวศศิวิมล เพ็ชรสุภาพ เลขที่ 76 ห้องA รหัส 613601082