Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ, ศศิประภา ภิญโญยาง 611201140 - Coggle Diagram
ปัญหาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ปัญหาระบบไหลเวียนเลือดและการหายใจ
ความดันโลหิตและอัมพาต
ปัจจัยเสี่ยง
ความดันโลหิตสูง
การสูบบุหรี่
เบาหวาน
ไขมันในเลือดสูง
อายุ
โรคหัวใจและภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ
ความอ้วน
ขาดการออกกำลังกาย
อาการแสดง
วิงเวียนศีรษะคลื่นไส้ตามัวมีอัมพาตแขนขาชาไม่รู้สึกตัว
การพยาบาลผู้สูงอายุ
การป้องกันการเกิดอัมพาต
ปัญหาระบบประสาท
ภาวะสมองเสื่อม (Dementia)
สาเหตุ
โรคอัลไซเมอร์ เป็นโรคที่พบได้บ่อยสุด
ระยะที่1Early stage อาการระยะแรกนี้ครอบครัวและเพื่อนของผู้ป่วยมักจะไม่ทราบสาเหตุ
ระยะที่2 Middle stage ระยะนี้บุคคลใกล้ชิดจะสังเกตเห็นความผิดปกติได้
ระยะที่3 Later stage เป็นระยะที่รุนแรงมากขึ้น ผู้ป่วยต้องมีผู้คอยช่วยเหลือ
ระยะที่4 Final stage ระยะสุดท้ายเป็นระยะที่รุนแรงที่สุด ผู้ดูแลอาจไม่สามารถดูแลในบ้าน
โรคสมองเสื่อมจากโรคหลอดเลือดสมอง
โรคติดเชื้อเรื้อรังบางชนิดในระบบประสาทส่วนกลาง
การใช้สารพิษหรือสารเสพติด
ภาวะพร่องฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์
โรคอื่นๆที่เกิดจากความเสื่อมของเซลล์ประสาท
การทำงานของสมองด้านเชาน์ปัญญาพร่อง (Cognitive Deficits)
ความจำเสื่อมลง Memory Impairment
มีความผิดปกติด้านเชาว์ปัญญา Cognitive disturbance
ผิดปกติด้านการใช้ภาษา
สูญเสียทักษะในการทำกิจกรรม
การไม่รับรู้ในสิ่งที่เคยรู้มาก่อน
ความผิดปกติในการบริหารจักการ
ความพร่องด้านเชาวน์ปัญญา
ความผิดปกติเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป
การรักษาภาวะสมองเสื่อม
การรักษาโดยใช้ยา
Denepezil
Rivastigmine
Galantamine
Memantine
Vitamin E
การรักษาโดยไม่ใช้ยา
พาร์กินสัน (Parkinson)
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่ชัด
อาการ
อาการสั่น Rest Tremor
เคลื่อนไหวช้า Bradykinesia
อาการแข็งเกร็ง Rigidity มมักสังเกตได้ยาก
การทรงตัวไม่สมดุล Postural Instability
การรักษา
ยา
ยาที่ยับยั้งการออกฤทธิ์ของอเซทิลโคลีนในสมอง
ยาที่เพิ่มฤทธิ์ของโดปามีน
การผ่าตัด
กายภาพบำบัด
ภาวะซึมเศร้า (Depression)
สาเหตุ
ปัจจัยส่วนบุคคล
ปัจจัยด้านชีวภาพ
ปัจจัยด้านจิตสังคมและสิ่งแวดล้อม
อาการแสดง
ด้านร่างกาย
การบ่นเรื่องอาการเจ็บป่วยทั้งที่ไม่มีโรคชัดเจน
นอนหลับผิดปกติ
การเคลื่อนไหวผิดปกติ
ด้านจิตสังคม
มีอารมณ์เศร้า
สมาธิและความตั้งใจสั้น
การประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
แบบสอบถามภาวะซึมเศร้าสำหรับผู้สูงอายุGDS
แบบวัดความเศร้าในผู้สูงอายุไทย TGDS 12 คะแนน
การรักษา
การบำบัดรักษาทางชีววิทยาการแพทย์
การบำบัดด้วยยาต้านเศร้า
การบำบัดทางจิตสังคม
การให้คำปรึกษา Counseling
การทำกลุ่มจิตบำบัด Group psychotherapy
การบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม Cognitive behavior therapy
การบำบัดโดยการแก้ไขปัญหา problem Solving therpy
การบำบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคล Interpersonal psychotherapy
ปัญหาความผิดปกติในการขับถ่าย
ต่อมลูกหมากโต Prostatic Hyperplasia-BPH
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่ชัด
อาการ
ลุกขึ้นถ่ายปัสสาวะกลางดึกมากกว่า 1-2ครั้ง
ปัสสาวะไม่พุ่ง ไหลช้า หรือไหลๆหยุดๆ
เกิดความรู้สึกว่าการขับถ่ายปัสสาวะเป็นเรื่องวุ่นวายในชีวิตประจำวัน
ไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้
ต้องเบ่งหรือรอนานกว่า จะสามารถปัสสาวะออกได้
รุ้สึกปัสสาวะไม่สุด
ปัสสาวะบ่อย ห่างกันไม่เกิน2ชั่วโมง
การรักษา
อาการเล็กน้อย แพทย์จะแนะนำให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
อาการระดับปานกลาง แพทย์ให้กินยา
อาการระดับรุนแรง ผ่าตัด TUR-P (transurethral Prostatectomy)
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ชนิดของภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้
Stress incontinence เป็นผลมาจากการที่ตัวหูรูดท่อปัสสาวะเองหดตัวตัวได้ไม่ดี
Urge incontinence เกิดจากกล้ามเนื้อ เรียบของกระเพาะปัสสาวะ (detrusormuscle
Overflow incontinence เกิดจากกล้ามเนื้อเรียบของกระเพาะปัสสาวะสูญเสีญความสามารถ
Functional incontinence เกิดจากความผิดปกติที่นอกเหนือจากสาเหตุที่เกิดจากการ ควบคุมการถ่ายปัสสาวะ
การดูแล
การตรวจคัดกรองภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้
ซักประวัติแยกระหว่างภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้เฉียบพลันคือเกิดในระยะไม่เกิน 6 เดือน แบบเรื้อรังหรือpersistent คือเกิดภาวะดังกล่าว ตั้งแต่6 เดือนขึ้นไป
การตรวจร่างกาย
ปัญหาระบบกระดูกและฮอร์โมน
ข้อเสื่อม (Osteoarthritis:OA)
ชนิด
ข้อเข่าเสื่อมชนิดปฐมภูมิ/ชนิดไม่ทราบสาเหตุ (Primary idiopathicosteoarthritis)
โรคข้อเข่าเสื่อมชนิดทุติยภูมิ (Secondary osteoarthritis)
พยาธิสรีรวิทยา (Pathophysiology)
กระดูกอ่อน
เหลืองขุ่น
ผิวขรุขระมีรอยแตก
การตรวจวินิจฉัยแยกโรค
การตรวจทางห้องทดลอง
การตรวจ Rheumatoid factor
Uric acid การดูดน้ำเลี้ยงขอมาตรวจวิเคราะห์การติดเชื้อ/ตกตะกอน
การพยาบาล
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยให้เข้าใจธรรมชาติของโรค
การพักการใช้ข้อดดยเฉพาะในระยะที่มีการอักเสบ
การใช้ยาในการรักษาตามอาการ
ป้องกันอันตรายต่อข้อ
ลดน้ำหนัก หากมีน้ำหนักมาก
กระดูกพรุน (Osteoporosis)
สาเหตุ
มวลกระดูกที่ลดลง
การพยาบาลเพื่อป้องกันและรักษาดรคกระดูกพรุน
การเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของผู้ป่วย
การรับประทานอาหารที่มีแคลเวียมและวิตามินดี
การออกกำลังกายแบบลงน้ำหนัก Aerobic weight bearing exercise)
การใช้ยาในการรักษา
การงดสูบบุหรี่หรือดื่ม alcohol
เบาหวาน
สาเหตุ
ความบกพร่องของตับอ่อน
ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้
อาการแสดง
ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน
ปัสสาวะมีน้ำตาลออกมาทำให้มีมดมาตอม
ชนิด
ชนิดที่1 Type1 การทำลายเบต้าเซลล์ของตับอ่อนทำให้เกิดการขาดอินซูลินพบได้ทุกวัย
เบาหวานชนิดที่2 Type2 มักเกิดกับผุ้ที่มีอายุ40ปีขึ้นไป
เบาหวานชนิดที่เกิดจากสาเหตุอื่น
สาเหตุและปัจจัยการเกิดโรคเบาหวานในผู้สูงอายุ
ความผิดปกติของตับอ่อน
ความผิดปกติของเซลล์เป้าหมาย
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
กรรมพันธุ์
การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต
ยาและสารเคมีบางอย่าง
พยาธิสภาพ
ระบบหลอดเลือดจะมีการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดแดงฝอยเกิดการอุดตัน
ไตมีการรั่วของโปรตีนออกมาในปัสสาวะ
การเสื่อมของจอตา
ระบบประสาทการนำสัญญาณของ เส้นประสาทช้าลง
ระบบเลือดมีความต้านทานโรคต่ำกว่าคนปกติ
อาการแสดง
ปัสสาวะบ่อย จำนวนมาก
คอแห้ง กระหายน้ำ และดื่มน้ำมาก
น้ำหนักลด ผอมลง
หิวบ่อย กินจุ
โรคแทรกซ้อน
โรคแทรกซ้อนชนิดเฉียบพลัน
ภาวะน้ำตาลในเลือดสุง (Hyperglycemic hyperosmolar nonketotic coma HHNC)
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia)
ภาวะคีโตนคั่งนเลือด (Diabetes ketoacidisis)
การรักษา
อาหาร การควบคุมอาหารในผู้สูงอายุ
การออกกำลังกาย
การใช้ยาลดน้ำตาล
การดูแลรักษาเท้า
ปัญหาความความบกพร่องด้านการสื่อสาร
ปัญหาการได้ยิน
ส่วนน้ำเสียงและขยายเสียง
หูชั้นนอก
หูชั้นกลาง
ส่วนประสาทรับเสียง
หูชั้นใน
สมอง
การพยาบาล
ควรมีการตรวจหูผู้สูงอายุและคัดกรอง
ผู้สูงอายุที่มีการสูญเสียการได้ยิน
แนะนำให้ผู้สูงอายุรับประทานอาหารที่มีกรดโฟลิคสูง
การดูแลรักษาสุขอนามัยหูอย่างถูกวิธี
ปัญหาการมองเห็น
สายตาผู้สูงอายุ(Presbyopia)
สาเหตุ
ความเสื่อมตามอายุในผู้สูงอายุมักทำให้เลนส์ตาขาดความยืดหยุ่น
มองใกล้ไม่ชัด
การรักษา
การตรวจวัดสายตา
ศศิประภา ภิญโญยาง 611201140