Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 แนวคิดของครอบครัวทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลครอบครัว -…
หน่วยที่ 3 แนวคิดของครอบครัวทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลครอบครัว
จัดทำโดย นางสาวศิญาพร เถาวัลย์ราช รหัสนักศึกษา 611410009-8 นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3
ทฤฎีของนิวแมน
ทฤษฏีนี้ให้ความสำคัญกับภาวะเครียดและปฏกิริยาต่อภาวะเครียดเป้ามายการพยาบาล คือ ความสมดุลหรือภาวะปกติสุขอย่างเป็นองค์รวมของระบบผู้ใช้บริการ
มโนมติหลัก
สุขภาพ (Health or wellness)
การพยาบาล (Nursing)
สิ่งแวดล้อม (Environmemt)
ผู้ใช้บริการ (Cilent)
แบบจำลอง
ระบบเปิดของคิง
พบาบาลเป็นหุ้นส่วนของครอบครัวการตั้งเป้าหมายรวมกันจึงต้องอาศัยการตัดสินใจภายใต้กระบวนการประสานร่วมมือที่เกิดจากการปฏิสัมพันธ์และการสื่อสารระหว่างพบาบาลกับครัวครัว
การปรับตัวของรอย
ครอบครัวมีความสำคัญต่อบุคคลในฐานะที่เป็นบริบทมีผลต่อพัฒนาการของบุคคลตลอดช่วงชีวิตและมีผลให้บุคคลต้องปรับตัวในช่วงที่เกิดการเปลี่ยนแปลง
ทฤษฏีวิกฤติ
การตอบสนองต่อภาวะวิกฤติ
ระยะถอยหลีกหรือสับสน อาจมีความรู้สึกที่รุนแรง
ระยะยอมรับหรือฟื้นตัว
ระยะช็อคหรือระยะผลกระทบรุนแรง
ระยะปรับตัวหรือเริ่มเข้าสู่สภาวะเดิม
ความหมาย
ภาวะวิกฤติเน้นผลกระทบของสถานการณ์บางอย่างที่เกิดขึ้นจนทำให้เกิดความเครียดรุนแรงจนเสียสมดุลทางอารมณ์และไม่สามารแก้ปํญหาแบบปกติได้ มีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนตามพัฒนาการ 8 ระยะ การเกิดการเจ็บป่วย อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม ภาวะจิตใจและสังคม
กลไกลการเผชิญปัญหา
ภายใน (Intrenal type)
ครอบครัวช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ครอบครัวใช้อารมณ์ขันในการแก้ปัญหา
สมาชิกในครอบครัวควรมรกิจกรรมและแบ่งปันมากขึ้นกว่าเดิม
ครอบครัวอาจใช้วิธธรการให้ความหมายกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแง่ดี
สมาชิกร่วมกันปรึกษาหารือกัน
ภายนอก (External type)
มีการหาข้อมูลเพื่อใช้แก้ปัญหาครอบครัว
ครอบครัวมีการติดต่อกับกลุ่มต่างๆ
ครอบครัวได้รับการช่วยเหลือจากคนรอบข้าง
ครอบครัวร่วมกับครอบครัวที่มีปัญหาคล้ายกันปรึกษากัน
ยึดความเชื่อทางจิตวิญญาณ
ระยะต่างๆของภาวะวิกฤติ
Linderman (1944) และ Caplan (1964)
ระยะที่ 2 แรงกดดันเพิ่มขึ้นจนบุคคลพยายามใช้กลไกลเผชฺิญปัญหาตามปกติ
ระยะที่ 3 แรงกดดันเพิ่มมากขึ้นจนส่งผลกระทบรุนแรงต่อบุคคลและครอบครัว
ระยะที่ 1 มีคามกดดันเกิดขึ้น
ฺBurgess and Balwin (1978)
ระยะที่่ 3 มีการแก้ปํญหาที่เกิดขึ้น
ระยะที่ 4 บุคคลผ่านพ้นวิกฤติไปแล้ว
ระยะที่ 2 ภาวะวิกฤติทางอารมณ์เนื่องจากปํญหาที่เกิดดขึ้นรุ่นแรง
ระยะที่ 1 มีสิ่คุกคามอันตรายเกิดขึ้น
การปรับตัวที่ผิดปกติ
ลดความเครียดดโดยใช้วิธีไม่เหมาะสม
ปฏิเสธปัญหา
แตกแยกหรือสูญเสียสมาชิกในครอบครัว
ใช้อำนาจในการแก้ปัญหา
ทฤฏีการดูแลตนเองของโอเร็ม
ทฤษฏีความพร่องในการดูแลตนเอง
ทฤษฏีระบบการพยาบาล
ทฤษฏีการดูแลตนเอง
ทฤษฏีพัฒนาการครอบครัว (Family develoment theory)
พัฒนาการของครอบครัว (Family develoment)
บรรทัดฐานของสังคม (Social norm) กฎเกณฑ์หรือข้อกำหนดที่สมาชิกในครอบครัวยอมรับเป็นแบบแผนเดียวกัน
บทบาทในครอบครัว (Family role) การกระทำของบุคคลในครอบครัวตามสถานภาพที่มีอยู่ในครอบครัว
การเข้าสู่ระยะรอบต่อของพัฒนาการครอบครัว (Family transitions) ภาวะเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงการดำเนินชีวิตครอบครัวในแต่ละระยะรอยต่อ สมาชิกกในครอบครัวจะต้องปรัลบทบาทของตนเองและพบกับคสามเครียดที่จำเป็นต้องมีการปรับตัว
สถานภาพในครอบครัว (Family position) โครงสร้างความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัว ซึ่งกำหนดด้วยเพศการแต่งงาน การสืบทอดทางสายโลหิตและความสัมพันธ์ของช่วงอายุ
ระยะพัฒนาการครอบครัว (Family develoment stages)
ระยะแยกครอบครัว
การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
การปรับบทบาทหน้าที่ระหว่างคู่สมรส
การปรับตัวของบิดามารดา
บทบาทการเป็นปู่ย่า ตายาย
บุตรคนแรกแยกไปมีครอบครัวใหม่
คงไว้ซึ่งความสัมพันธ์อันดีในครอยครัว
ระยะมีบุตรวัยรุ่น
ความสัมพันธ์กับบุตรวัยเรียน
ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องเพศสัมพันธู์
บุตรคนแรกอายุ 13-20 ปี
อบรมเรื่องบทบาทในสังคม การดำเนินชีวิต
การดูแล
จัดบริการให้คำปรึกษา
ส่งต่อครอบครัวไปรับบริการที่เหมาะสม
จัดบริการสุขภาพ
ประสานงานกับหน่วยงานในชุมชนอื่นเพื่อจัดกิจกรรมที่เหมาะสม
ให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาและการป้องกัน
ระยะบุตรวัยเรียน
สร้างฐานะ มุ่งความก้าวหน้า
ปล่อยให้บุตรมีอิสระจากครอบครัว
ส่งเสริมด้านการเรียน ให้คำปปรึกษา
บุตรคนแรกอายุ 6-13 ปี
สัมพันธภาพ การสื่อสารที่ดีในครอบครัว
จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย
การเลี้ยงดู
การป้องกันอุบัติเหตุ ปฐมพยาบาล
ให้ความรู้ด้านสุขภาพ
เตรียมบุตรให้พร้อมสำหรับการเรียน
สอดส่องพฤติกรรม ทำตัวเป้นแบบอย่างที่ดี
ประสานงานระหว่างบ้านกับโรงเรียน
ส่งต่อสู่บริการที่เหมาะสม
ระยะมีบุตรก่อนวัยเรียน
การดูแล
การตรวจร่างกาย
ฝึกการช่วยเหลือตนเอง
ฝึกการเรียนรู้
ฝึกสุขนิสัย สุขภาพปากแลละฟัน
การให้ความรัก ความอบอุ่น
การป้องกันโรค การให้ภูมิคุุ้มกัน
อาหาร อาหารเสริม
เปิดโอกาสให้เด็กเรียนรู้มากที่สุด
เตรียมพร้อมก่อนเข้าเรียน
ป้องกันการติดเชื้อในเด็ก
จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย
เลี้ยงดู อบรมสั่งสอนบุตร
ปํญหาพี่อิจฉาน้อง
บุตรคนแรกอายุ 2 ปีครึ่งถึง 6 ปี
จัดสรรหาเงิน
ระยะครอบครัววัยกลางคน
ปรับกิจกรรม ป้องกันวิกฤติในวัยกลางคน
สัมพันธภาพที่ดีกับสมาชิกครอบครัว คู่สมสร
ส่งเสริมดูแลสุขภาพ
วางแผนหลังเกษียณ
บุตรคนสุดท้ายแยกครอบครัว-เกษียณ
ระยะเริ่มต้นเลี้ยงดูบุตร
การดูแล
การใหห้ความอบอุ่น เสื้อผ้า
สังเกตอาการผิดปกติ สำรอก ตัวเหลือง ท้องเดิน ท้องอืด ท้องผูก
การรักษาความสะอาด การอาบน้ำให้เด็ก
สัมพันธภาพระหว่างบิดา มารดา และบุตร
การจัดแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
บิดามารดาปรับตัวเข้าสู่บทบาทใหม่
การวางแผนครอบครัว
บุตรคนแรกตั้งแต่เกิดจนอายุ 2 ปีครึ่ง
ระยะครอบครัววัยชรา
เกษียณอายุการทำงานจนกระะทั่งคู่สมรสเสัยชีวิต
เกิดอาการว้าเหว่จนอาจทำให้เสียชีวิตไปตามกัน
การดูแล
ประสานหน่วยงานต่างๆเพื่อให้การดูแลผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธภาพ
ส่งต่ผู้สูงอายุไปรับบริการต่างๆตามความเหมาะสม
ให้คำปรึกษา รับฟังปํญหาและร่วมกันแก้ไข
ระยะพัฒนาการครอบครัวเริ่มต้น
การดูแแล
แนะนำให้รับบริการด้านการปรึกษาแก่คู่สมรส
ประสานกับหน่วยบริการอื่น
ร่วมกัับครอบครัวค้นหาปํญหา
ให้กำลังใจ ประคับประคองจิตใจ
รับฟังคำบอกเล่า
สัมพันธภาพระหว่างคุ่สมรส
การวางแผนครอบครัว
เริ่มสมรส-ตั้งครรภ์บุตรคนแรก
ความสัมพันธ์กับญาติคู่สมรส