Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
พัฒนาการเด็กตั้งแต่แรกเกิด
ช่วงอายุ 3 เดือน
ชันคอ ยกศรีษะจากพื้นเมื่อนอนคว่ำ
ทำเสียง อือ อา ในลำคอ
ช่วงอายุ 4 เดือน
พลิกตะแคงตัวได้ หันตามเสียง
กางมือออกแล้วกำของเล่นได้
ช่วงอายุ 6 เดือน
นั่งทรงตัวได้นาน สนใจฟังคนพูด จ้องมองหน้า
ร้องไห้เมื่อเห็นคนแปลกหน้า
ช่วงอายุ 12 เดือน
เดินโดยช่วยจูงมือเด็ก 2 ข้าง
ค้นหาของเล่นที่ซ่่อนไว้
ดื่มน ้าจากถ้วยแก้วหรือขันเล็กๆได้
ช่วงอายุ 15 เดือน
คว่ำขวดเท เพื่อเอาขนมหรือของเล่นในขวด
ร่วมมือในการแต่งตัว
ช่วงอายุ 18 เดือน
เดินข้าม หรือหลบหลีกสิ่งกีดขว้าง
ชี้อวัยวะของร่างกายได้ 4 – 5 ส่วน
ช่วงอายุ 2 ปี
ชี้อวัยวะของร่างกายได้ 10อย่าง บอก
บอกได้เมื่อต้องการขับถ่าย กระโดน2ขาได้
ช่วงอายุ 3 ปี
เดินเขย่งปลายเท้าได้ 3เมตร เลือกของที่มีขนาดที่ใหญ่กว่าหรือเล็กกว่าได้ ถอดเสื้อผ้าเองได้
ช่วงอายุ 4 ปี
กระโดดขาเดียวไปข้างหน้าได้ 2-3 ครั้ง
ใช้นิ้วหัวแม่มือแตะได้ ชอบค้นหาและเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
ช่วงอายุ 5 ปี
ก้มลงเก้บของที่พื้นขณะวิ่งได้
จับดินสอได้ด้วยท่าที่ถูกต้อง
เล่าว่าวันนี้ทำอะไรมาบ้าง
รู้จักยาวกว่าสั้นกว่า
กระดูกหัก
หมายถึงภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยก ออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง
ข้อเคลื่อน
หมายถึง ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่ หรือหลุดออกจากเบ้า ซึ่งการบาดเจ็บของข้อและกระดูกยังส่งผลให้เนื้อเยื่อที่อยู่โดยรอบกระดูก หลอดเลือด น้้าเหลือง เส้นประสาทและเส้นเอ็นได้รับอันตราย
กระดูกเด็กมีลักษณะแตกต่างจากผู้ใหญ่
แผ่นเติบโต (growth Plate) มีความอ่อนแอ กว่าเอ็น
เยื่อหุ้มกระดูก (periosteum)
เยื่อบุโพรงกระดูก(endosteum)
ปัญหาด้านการวินิจฉัยกระดูกหักในเด็กการตรวจร่างกายอาจไม่แน่ชัด
การบวมของแขน ขาในเด็กจะเกิดขึ้นเร็วภายหลังมีกระดูกหักหรือข้อเคลื่อน
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน (ischemic changes)
การเจริญเติบโตของเด็กเล็กเริ่มจากการทดแทนกระดูกอ่อนด้วยศูนย์กระดูกปฐมภูมิ (primary ossification center)
สถิติกระดูกหักในเด็ก
สาเหตุ
มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุน้ามาก่อนมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชน ตกจากที่สูง หรือจากการกระตุ้นทางอ้อม
อาการและอาการแสดง
1.มีอาการปวดและกดเจ็บ
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
3.รอยจ้้าเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การติดของกระดูกเด็ก
สิ่งที่สร้างขึ้นมา ประสานรอยร้าวหรือรอยแตกของกระดูกมีองค์ประ กอบส้าคัญ คือ คอลลาเจนไฟเบอร์ (collagen fiber) แคลเซี่ยม เซลล์สร้างกระดูก ( osteoclast ) รวมเรียกสิ่งที่สร้างขึ้นว่า (callus) เปรียบเสมือนเป็นกาวธรรมชาติ ( biological glue )
การประเมินสภาพ
1.การซักประวัติ
ซักเกี่ยวกับเรื่องการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
2.การตรวจร่างกาย
ตรวจเหมือนเด็กทั่วไป
-ลักษณะของกระดูกหัก
-ลักษณะของข้อเคลื่อน
3.การตรวจพบทางรังสี
การรักษา
-ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
-แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับกระดูกหักนั้นๆ
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
อาการและอาการแสดง
-Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
-Crepitus คล้าได้เสียงกรอบแกรบ
-ปวด บวม ข้างที่เป็น
-เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ90 องศา ให้ติดกับลำตัว พันนาน 10-14 วัน ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
พบได้ทุกวัย โดยเฉพาะอายุ 2 - 3 ปี
ต้าแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา เด็กจะปวด บริเวณข้างที่หัก
ถ้ากระดูกเคลื่อนออกจากกันมากๆ ให้รักษาด้วยวิธี Gallow’s หรือBryant’s traction ถ้าอายุมากกว่า 3 ปีแก้ไขโดยท า Russel’s traction
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในทารกแรกเกิด
มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ท้าคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
ส่วนในเด็กโต
-อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอก
กระแทกพื้นโดยตรง จะพบหัวไหล่บวม ช้้า
-เวลาจับไหล่หรือแขนให้มีการเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
พบบ่อยในเด็กเพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย
เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกงอเด็กจะปวดบวมบริเวณข้อศอกอย่างมาก
ในรายที่หักแบบ greenstick อาจใส่เฝือกแบบ posterior plaster splint ประมาณ 1 สัปดาห์เมื่อยุบบวม จึงเปลี่ยนเฝือกพันต่ออีก 2-3 สัปดาห์
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
เป็นการเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio-humeral ไม่หมด
กระดูกปลายแขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่น
เกิดจากการกระทำทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
ตำแหน่งที่พบบ่อยคือ บริเวณปลายล่ํางๆ หรือ
ส่วนล่ําง 1/3 ของลำกระดูก
7.ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
สาเหตุ
-เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด
การวินิจฉัย
จากการสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา
ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาล
ส่วนมากเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุ การพยาบาลจึงต้องคำนึงถึงอวัยวะส่วนอื่นๆ ที่อาจได้รับบาดเจ็บด้วย
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ โดยการสังเกต คลำ ดูความสัมพันธ์ของอวัยวะ การเคลื่อนไหวของข้อต่าง ๆ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
3.1 เข้าเฝือกปูน
3.2 ดึงกระดูก( traction)
3.3 ผ่าตัดท้า open reduction internal fixation ( ORIF )
ชนิดของ Traction ที่ใช้รักษากระดูกหักในเด็ก
Bryant’s traction
ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก ( fractureshaft of femur ) ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบ หรือน้ำหนัก ไม่เกิน 13 กิโลกรัม
Over Head traction
ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน เป็นการเข้า traction ในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศา กับลำตัว
Dunlop’s traction
ใช้กับเด็กในรายทที่มี Displaced Supracondylar Fracture ที่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่ ( reduce ) ได้
Skin traction
ใช้ในรายที่มีfacture shaft of femur ในเด็กโต
อายุมากกว่า3 ขวบขึ้นไป
แบบนี้อาจเกิดปัญหาการกด peronealnerve ทำให้เกิด foot drop ได้
Russell’s traction
ใช้ในเด็กโตที่มีFracture shaft of femur
2.การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดเคลื่อนไหว
ป้องกันและลดอาการข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบ
กระตุ้นให้เด็กมีการออกกำลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ ด้วยการเปลี่ยนท่าที่เหมาะสมให้เด็กอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
ลดอาการท้องผูกด้วยการกระตุ้นให้เด็กมีการ
เคลื่อนไหว จัดอาหารที่มีกากมาก ดื่มน้ำให้เพียงพอ
ช่วยให้ปอดขยายตัวเต็มที่ด้วยการกระตุ้นให้เด็ก
หายใจเข้าออกลึกๆแรงๆหลายๆครั้ง
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงการเกิด
ภาวะแทรกซ้อนต่าง
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูก
เนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
ทำความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือกที่ด้วยการชะล้างสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในบาดแผลออกให้หมด
ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อเกิดขึ้นจาก ลักษณะแผล สิ่งคัดหลั่ง อาการบวมแดง
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจของเด็กและญาติว่าต้องการช่วยอะไรบ้าง
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกที่ดีแก่เด็กและญาติที่มีต่อการรักษาพยาบาลและตัวบุคลากร
จัดกิจจกรรมหรือเปิดโอกาสให้เด็กและญาติให้มีการระบายออก
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆแต่ต้องประเมินอาการเจ็บปวดด้วย
5.การพยาบาลเพื่อบรรเทาปวด
5.1 ประเมินระดับอาการปวดของผู้ป่วย
5.2 จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
5.3 ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือskin traction พันแน่นเกินไปหรือไม่
5.4 ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ
5.5 กรณีเด็กได้รับการผ่าตัด อาจมีการรัดโดยสำลีพันเฝือกบริเวณข้อศอกข้อเข่า ควรคลาย สำลีพันเฝือกให้ถึงผิวหนังเด็ก
5.6 ผู้ป่วยที่ได้รับการยึดด้วย Kirschner wire ผ่านผิวหนังออกมาข้างนอกเพื่อสะดวกในการถอด ต้องหมั่นทำแผลจนกว่าจะถึงเวลาที่ถอด
6.การพยาบาลเพื่อให้ค้าแนะน้าการปฏิบัติตัวเมื่อ
กลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
6.1 การดูแลแผลผ่าตัด ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำหรือสกปรก
6.2 ห้ามผู้ป่วยและญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
6.3 ควรสังเกตอาการผิดปกติที่จำเป็นต้องมาโรงพยาบาลทันที ได้แก่ เฝือกมีกลิ่นเหม็น,ปลายมือปลายเท้าชา เขียวคล้ำ,มีไข้สูง
6.4 ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อให้แผลหายดี
6.5 รักษาสุขภาพ อนามัยให้แข็งแรงอยู่เสมอ และหมั่นออกกำลังกายกล้ามเนื้อและข้อ โดยเฉพาะการกำแบมือบ่อยๆ
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
สาเหตุ
เกิดจากกล้ามเนื้อบริเวณ forearm (กลุ่มกล้ามเนื้อ pronator และ flexor) ขาดเลือดไปเลี้ยง หรือมีเลือดไปเลี้ยงน้อย
ระยะต่าง ๆ ของการเกิด Volkmann’s ischemic contracture
-ระยะเริ่มเป็น
-ระยะมีอาการอักเสบของกล้ามเนื้อ
-ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
วิธีป้องกัน
-จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุดขณะที่หักเกิดขึ้นใหม่ๆ
-อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือก
-ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าพันธรรมดา
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ
มักคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อยๆยุบลงไป ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศีรษะบิดเบี้ยว ไม่สมดุล
การวินิจฉัย
-การตรวจร่างกาย ลักษณะของผู้ป่วย ซักประวัติ
-ภาพรังสีกระดูกคอ
-การรักษา
-การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
-การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth)
-การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis)
-การผ่าตัด
polydactyly
สาเหตุ
พันธุกรรม
การรักษา
ผ่าตัด
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
อาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน
ทรวงอกเคลื่อนไหวจ ากัด มักหายใจตื้น หายใจลึกทำได้ยาก
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลำตัว ความจุในทรวงอกสองข้างไม่สมมาตรไม่เท่ากัน
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออกจะฝ่อลีบและบาง
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
เริ่มมีอาการปวดเมื่อหลังคดมาก
เริิ่มมีอาการเมื่ออายุน้อยยิ่งมีความพิการมาก กระดูกสันหลังส่วนเอวคด
การรักษา
แบบอนุรักษ์นิยม (Conservation)
กายภาพบำบัด
บริหารร่างกาย
การผ่าตัด
เป็นการรักษาสมดุลของลำตัว แก้ไขแนวตรงของร่างกาย รักษาระดับไหล่และสะโพก
แนวทางการพยาบาล
-ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค
-บอกผู้ป่วยต้องนอนในหออภิบาลหลังผ่าตัด
-อธิบายวิธีการพลิกตัวหลังผ่าตัดโดยให้ไหล่และสะโพกพลิกไปพร้อมกัน
-แนะนำให้รายงานอาการผิดปกติต่างๆที่อาจเกิดหลังผ่าตัด เช่น อาการปวด ชา สูญเสียความรู้สึก เป็นต้น
-ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง
-ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแผลกดทับ
-แนะนำการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว