Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหัก
ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกัน อาจแตกแยกโดยสิ้นเชิง หรือมีเพียงบางส่วน หรือแ่แตกร้าว
สาเหตุ
มัก้กิดจากกรได้รับอุบัติเหตูนำมาก่อนมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง
อาการและอาการแสดง
1.มีอาการปวดและกดเจ็บ
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหัก หรือกระดูกเกยกัน
3.รอยจ้ำเขียว
4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การประเมินสภาพ
1.การซักประวัติ
2.การตรวจร่างกาย
2.1.ลักษณะของกระดูกหัก
2.2ลักษณะของข้อเคลื่อน
3.การตรวจพบทางรังสี
การรักษา
1.ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพื่มขึ้น
2.แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
เป้าหมายการรักษา
1.ในระยะแรกจะมุ่งลดความเจ็บปวด
2.จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูก
3.ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
4.ให้อวัยวะนั้นกลับทำงานได้เร็วที่สุด
กระดูกหักที่พบบ่อย
1.กระดูกไหปลาร้า (Fracture of clavicle)
อาการและอาการแสดง
Pseudoparalysis
ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
Crepitus
คลำได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่ง
2.กระดูกต้นแขนหัก (Fracture of humerus)
3.กระดูกข้อศอกหัก (Supracondylar fracture)
4.การเคลื่อนของกระดูกเรเดียส (Transient subluxation of radial head )
5.กระดูกปลายแขนหัก
6.กระดูกต้นขาหัก (Fracture of femur)
7.ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด
การพยาบาล
1.การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกหักที่ได้รับบาดเจ็บเพิ่ม
1.ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ
2.เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
3.จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
3.1.การเข้าเฝือกปูน
จัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือกภายใน 24 ชั่วโมง
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
การยกหรือเคลื่อนย้ายเด็กต้องระวังเฝือก
ระวังไม่ให้เฝือกเปียกน้ำ
แนะนำญาติหรือเด็กในการดูแลเฝือก
3.2.การดึงกระดูก (Traction)
1.Bryant's traction
ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก
2.Over Hear traction
ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน
3.Dunlop's traction
ใช้ในเด็กที่มี Displaced Supracondylar fracture
4.Skin traction
ใช้ในรายที่มี facture shaft of femur
5.Russell's traction
ใช้ในเด็ดโตที่มี Fracture shaft of femur
3.3.การผ่าตัด Open reduction internal fixation (ORIF)
เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว้ อาจใช้ plate screw nail หรือ wire แพทย์จะพิจารณา ทำในรายที่กระดูกหักมากเกิดอันตรายต่ออวัยวะโดบรอบ
2.การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดการเึลื่อนไหว
1.ป้องกันและลดอาการข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบ
2.ป้องกันการเกิดแผลกดทับ
3.ลดอาการท้องผูก
4.ช่วยให้ปอดขยายตัวเต็มที่
5.ประเมินอาการที่บ่งชี้ถึงภาวะแทรกซ้อน
3.การพยาบาาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูก
1.ทำความสะอาดแผลก่อนเข้าเฝือก
2.ประเมินอาการที่บ่งบอกถึงการติดเชื้อ
3.ดูแลฝห้ได้รับยาปฏิชีวนะ
4.ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสรอมสร้างเนื้อเยื่อ
4.การพยาบาลเพื่อลดความเครียด วิตกกะงวลเมื่อเข้ารับการรรักษาที่โรงพยาบาล
1.ประเมินสภาพความต้องการทางจิตใจของเด็กและญาติ
2.สร้างความมั่นใจและความรู้สึกที่ดีแก่เด็กและญาติ
3.จัดกิจกรรมหรือเปิดโอกาสให้เด็กและญาติได้มีการระบาย
4.ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
5.การพยาบาลเพื่อบรรเทาปวด
1.ประเมินระดับการปวดของผู้ป่วย
2.จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
3.ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือ skin traction พันแน่นเกินไปหรือไม่
4.ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
6.การพยาบาลเพื่อให้คำแนะนำ การปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
1.ดูแลแผลผ่าตัด ระวังไม่ให้เปียกน้ำ
2.ห้ามผู้ป่วยและญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
3.ควรสังเกตอาการผิดปกติที่จำเป็นต้องมาโรงพยาบาล เช่น เฝือกมีกลิ่นเหม็น
4.รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
โรคแทรกซ้อน
Volkmann's ischemic contracture
สาเหตุ
เกิดจากกล้ามเนื้อบริเวณ forearm ขาดเลือดไปเลี้ยง หรือมีเลือดไปเลี้ยงน้อย เนื่องจากเส้นเลือดแดงและเส้นเลือดดำถูกกด
แบ่งเป็น 3 ระยะ
1.ระยะเริ่มต้น
มีบวม ดห็นได้ชัดที่นิ้ว
เจ็บและปวด
นิ้วกางออกจากกัน
ชีพจรคลำได้ไม่ชัด หรือคลำไม่ได้
2.ระยะที่่มีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อ บวม ตึง และมีสีคล้ำ ผิวหนังพอง
3.ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
เกิดขึ้นเมื่อPronator และ Flexor ของปขน มือและนิ้ว ทำให้มือและนิ้วหงิกงอ ใช้การไม่ได้
วิธ๊ป้องกัน
1.จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุด
2.อย่างอข้อศอกมากเกินไป
3.ใช้ Slab ใส่ทางด้านหลังออกแขนแล้วพันด้วยผ้าธรรมดา
ข้อเคลื่อน
ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า
โรคคอเอียงแต่กำเนิด
อาการ
มักคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้าคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อยๆยุบลงไป การปล่อยให้มีภาวะเอียงอยู่นานจะส่งผลให้ ศีรษะเบี้ยวไม่สมดุล
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
2.ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
การผ่าตัด
Bipolar release ตัดปลายเอ็นยึดเกาะของกล้ามเนื้อด้านคอทั้งสองปลาย หลังผ่าตัดต้องใช้อุปกรณ์พยุงคอ
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
การมีกระดูกสันหลังคดไปด้านข้างร่วมกับมีการหมุนของปล้องกระดูกสันหลัง เกิดความพิการทางรูปร่าง
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ
2.การครวจร่างกาย
3.การตรวจทางห้องปฎิบัติการอื่น ๆ
อาการแสดง
1.กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง สะบัก 2 ข้าง ไม่เท่ากัน
2.ทรวงอกเคลลื่อนไหวจำกัด
3.พบการเลื่อนของกระดูกสันหลังออกจากแนวลำตัว
4.กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา
5.ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ในระดับเดียวกัน
6.ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
การรักษา
1.การรักษาแบบอนุรักษ์นิยม (Conservation)
กายภาพบำบัด บริหารร่างกาย
2.การผ่าตัด
แนวทางการพยาบาล
1.แนะนำการปฎิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
2.ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่ากระดูกสันหลัง
3.ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและการเกิดแผลกดทับ
4.แนะนำการปฎิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว