Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบกระะดูก, นางสาวปภารดา คาแพง เลขที่46 …
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบกระะดูก
โรคกระดูกอ่อน
(Ricket)
โรคของเมตาบอลิซึมของกระดูกท่ีพบในเด็ก ความบกพร่องในการจับเกาะของเกลือแร่บนเน้ือกระดูกอ่อน
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญVit D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลําไส้ดูดซึม แคลเซียมกลับได้น้อย ท้องเดินเรื้อรัง หรือรับประทานสารที่ขัดขวางการดูดซึมของแคลเซียมและวิตามินดี เช่น อะลูมิเนียมไฮดรอกไซค์ บาร์บิทูเรต
โรคไตบางชนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูแคลเซียมและ ฟอสเฟต เช่น Renal Tubular Insufficiency และ Chronic renal Insufficiency
ภาวะฟอสเฟตต่ำ (Hypophosphatasia) จากขาด Alkaline Phosphatase ซึ่งเป็นตัว สําคัญที่ทําใหเ้กิดการจับเกาะของเกลือแร่
อาการและอากรแสดง
ในเด็กเล็ก ความตึงตัวของกล้ามเน้ือจะน้อย กล้ามเน้ือหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น
ขวบปีแรกเด็ก จะมีความผิดรูปได้แก่กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า ส่วนหลังของกะโหลกศีรษะแบนราบลงหรือ กะโหลกนิ่มหน้าาผากนูน ฟันข้ึนช้า ผมร่วง
หลังหน่ึงขวบแล้วจะพบความผิดรูปมากข้ึน พบขาโก่ง ขาฉิ่ง กระดูกสันหลังคดหรือหลังค่อม ท่าเดินคล้ายเป็ด อาจเกิดกระดูกหักได้
การรักษา
แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
การป้องกัน
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
ให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อวันนต่อน้ําหนักตัวสําหรับเด็กคลอดก่อนกาหนด
ให้ออกกําลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม เช่น ยากันชัก ยาลดกรดยาเตรทตราชยัคลิน ยาระบาย ยาขับปัสสาวะ
การติดเชื้อในกระดูก และ ข้อ
Bone and Joint infection
การติดเชื้อในกระดูก(osteomyelitis)และข้อ (septicarthitis)ในเด็กถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องอาจทําให้เกิดความพิการตามมาได้
คำจำกัดความ Morrey and Peterson
Definite (ติดเชื้อกระดูกอย่างแน่นอน) ตรวจพบเชื้อโรคจากกระดูกหรือเนื้อเยื่อติดกับกระดูกน้ันหรือผลตรวจชิ้นเนื้อแสดงถึงการติดเชื้อ
Probable(น่าจะติดเชื้อที่กระดูก)การติดเชื้อในเลือดร่วมกับลักษณะทางคลินิคและภาพรังสี
Likely(คล้ายติดเชื้อที่กระดูก)พบลกัษณะทางคลินิคและภาพรังสีเข้าได้กับการติดเชื้อ ที่กระดูกตอบสนองดีต่อยาปฏิชีวนะโดยที่ไม่พบเชื้อจากการเพาะเลี้ยง
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่ข้อ
พบเชื้อที่เป็นสาเหตุถ้าไม่พบ Morrey กล่าวว่าต้องมีอาการ5ใน6 ดังนี้
1.อณุหภูมิร่างกาย >38.3 องศาเซลเซียส
มีอาการปวดข้อ
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
ข้อบวม
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่น ๆร่วม
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่กระดูก
ประวัติ
มีอาการปวด เด็กเล็กแสดงออกโดยไม่ใช้แขน ขา ส่วนนั้น ทารกนอนนิ่งไม่ขยับแขนขาข้างที่เป็น(pseudoparalysis)
เด็กโตบอก ตําแหน่งที่ปวดได้ อาการไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร อาจมีการบาดเจ็บ เฉพาะที่ร่วมด้วย
การตรวจร่างกาย
มีปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่ บริเวณที่มีพยาธิสภาพอาจมีความผิดปกติ ปวด ปวดมากข้ึนถ้ากดบริเวณนั้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผล CBC พบ Leucocytosis , ESR , CRPมีค่าสูง ผลGramstainและcultureข้ึนเชื้อที่เป็นสาเหตุ
การตรวจทางรังสี
Plain flim พบเน้ือเยอื่ ส่วนลึกบวม โดยเฉพาะบริเวณ metaphysis Bone scan ได้ผลบวกบอกตําแหน่งได้เฉพาะ MRI (Magnatic resonance imaging) พบ soft tissue abcess ,bone marrow edema ค่าใช้จ่ายสูง ในเด็กเล็ก ๆ ต้องทําตอนเด็กหลับ
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเน้ือ กระดูกตายออก
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเน้ือเยื่อตาย
กระทบต่อ physis เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดูก ทําลาย physeal plate ยับยั้งการเจริญของกระดูกตามยาว ทําให้กระดูกส่วนนั้นสั้นมีการ โก่งผิดรูปของกระดูก อาจต้องผ่าตัดเพื่อยืดกระดูกให้ยาวข้ึน
ข้ออักเสบติดเชื้อ
(septic arthritis)
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ เช่นจากการทิ่มแทงเข้าในข้อ หรือแพร่กระจายจากบริเวณ ใกล้เคียง จากการแพร่เชื้อโรคจากกระแสเลือดเชื้อท่ีเป็นสาเหตุส่วนใหญ่ เช่น แบคทีเรีย
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิค
มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของ การติดเชื้อข้อ มัก เป็นที่ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อเท้า รองลงมาข้อศอก ข้อไหล่ ข้อมือ ข้อเล็ก ๆเช่น ข้อนิ้ว
ผลLab
เจาะดูดน้ำในข้อ(jointaspiration)มาย้อม gramstain ผลCBC พบ ESR , CRP สูงข้ึนเล็กน้อย
การตรวจทางรังสี
Plain flim อาจพบช่องระหว่างข้อกว้าง
Ultrasound บอกถึงภาวะมีน้ำในข้อมาก หรือเคลื่อนหลุด
Bone scan / MRI ช่วยบอกถึงการติดเชื้อกระดูก
การรักษา
1.การให้ยาปฏิชีวนะ
2.การผ่าตัด ได้แก่ Arthrotomyanddrainage มีขอ้บ่งชี้เพื่อระบายหนอง หยุดยั้งการทําลายข้อ และเพื่อได้หนองและชิ้นเน้ือในการส่งตรวจ
ภาวะแทรกซ้อน
Growthplate ถูกทําลายทําให้การเจริญเติบโตตามความยาวกระดูก และการทําหน้าที่เสียไป
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
ข้อถูกทําลาย (jointdestruction)
หัวกระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือด (avascularnecrosis)
วัณโรคกระดูกและข้อ
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
ในเด็กพบร้อยละ 4 ของการติดเชื้อวัณโรคปอด วัณโรคปอดพบร้อยละ 25 ของวัณโรคในเด็กที่อายุต่ำกว่า 15 ปีและวัณโรคกระดูกสันหลัง (spinal tuberculosis) พบประมาณครึ่งหน่ึงของวัณโรคกระดูกและข้อทั้งหมด
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ จากการไอ จาม ของผู้ป่วย เชื้อเจริญเติบโตและแพร่กระจายผ่านทาง lympho- hematogenous spread ไปยังอวยัวะต่าง ๆ และจะถูกระบบภูมิต้านทานของร่างกายทําลายแต่อาจมี เชื้อบางส่วนท่ีอยู่ตามอวยัวะต่าง ๆ จะลุกลามเมื่อมีปัจจัยเหมาะสม
อาการและอาการแสดง
จะเริ่มแสดงหลังการติดเชื้อประมาณ 1 - 3 ปีที่กระดูกรอยโรคเริ่มที่ metaphysis ของ long bone ซึ่งมีเลือดมาเลี้ยงมากอาจเป็นตําแหน่งเดียวหรือมากกว่า กระดูกจะถูกทําลายมากข้ึน กระดูกจะบางลงหรือแตกนอกกระดูกเกิดเป็นโพรงหนองท่ีไม่มีลักษณะ การอักเสบหรือ แตกเข้าสู่ข้อใกล้ เคียงและ จะทําลายกระดูกอ่อนของผิว ข้อท่ีกระดูกสันหลัง เชื้อจะเข้าทางท่อน้ำเหลืองจากต่อมน้ําเหลืองข้างกระดูกสันหลัง หรือระบบไหลเวียนเลือด ท่อน้ําเหลืองจากกระดูกท่ีติด เชื้อใกล้เคียง เชื้อจะทําลายกระดูกสันหลัง
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ําหนักลด มีไข้ต่ำ ๆ
ตอนบ่ายหรือเย็น ต่อมน้ําเหลืองโต
ประวัติใกล้ชิดกับ ผู้ที่เป็นวัณโรค มีปวดข้ออาการข้ึนกับ ตําแหน่งที่เป็น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC อาจพบ WBC ปกติหรือสูงไม่มาก ค่า CRP , ESR สูง ทดสอบ tuberculin test ผล+
การตรวจทางรังสี
plaint film
MRI
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเน้ือ การผ่าตัดระบายหนอง ผ่าตัดเพื่อแก้การกดทับเส้นประสาท
อาการแทรกซ้อนทางกระดูกและข้อ
กระดูกสันหลังค่อมหรืออาการกดประสาทไขสันหลังจนอ่อน แรงหรือเป็นอัมพาต (Pott’s paraplegia) ปวดข้อ ผิวข้อขรุขระ ข้อเสื่อม ข้อยึดติด พิการ
เท้าปุก
Club Foot
รูปร่างของเท้าที่มีลกัษณะข้อเท้าจิกลง (equinus) ส้นเท้าบิดเข้าใน (varus) ส่วนกลางเท้าา และเท้าด้านหน้าบิดงุ้ม เข้าใน (adduction and cavus)
สาเหตุ
ยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัด
อาจเกิดจาก gene และปัจจัยส่งเสริม
เช่นแม่สูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์มีอุบัติการณ์ถึง2.4เท่า,การติดเชื้อในครรภ์เป็นต้น
แบบทราบสาเหตุ
1.1positional clubfoot เกิดจาก uterus impaction affect
1.2teratologoc clubfoot เป็นชนิดที่มีความแข็งมากพบใน Syndrome หลายชนิด
เช่น arthogryposis multiplex congenita
1.3neuromuscular clubfoot พบได้ทั้งแบบเป็นตั้งแต่เกิด/ภายหลังเช่นใน cerebral palsy , myelomeingocele , neurological injury , other neuromuscular disease
แบบไม่ทราบสาเหตุ (ideopathic clubfoot) หรือ Ideopatic Talipes EquinoVarus (ITCEV)พบตั้งแต่กำเนิด
พยาธิสภาพ
เริ่มตั้งแต่ระยะสร้างกระดูกเท้า กลไกการสร้าง Catilage anlage ที่เป็นเนื้อเยื่อต้นแบบของกระดูกเท้าผิดปกติ (primary germ plasm defect)
ความสัมพนัธ์ของกระดูกในเท้าผิดปกติ:พบnavicular bone อยู่ medialและ inferior ต่อกระดูก talus ,calcaneus bone หมุนเลื่อนไปทาง medial ซ้อนอยู่ใต้ talus bone และพบกระดูก metatarsal bone บิดเข้า medial เช่นกัน
รูปร่างกระดูก : รูปร่าง และขนาดจะบิดผิด รูปไปจากเท้าปกติ โดยเฉพาะ กระดูก talus , calcaneus , navicular และ cuboid bone
Joint capsule และ Ligament : จะหดสั้นแข็ง
Tendon และ Muscle : เอ็นและกล้ามเนื้อขาข้างที่มีเท้าปุกจะเล็กกว่าปกติ
Nerve และ Vessel : มีขนาดเล็กกว่าปกติ พบสิ่งผิดปกติได้บ่อยกว่า เช่น absence ของ Dosalis pedis artery ร้อยละ 50
การวินิจฉัย
การตรวจดูลักษณะรูปร่างเท้าตามลักษณะตามคําจํากักความ“เท้าจิกลง บิดเอียงเข้าด้านใน”ควรแยกระหว่างเท้าปุกที่สามารถหายได้เองจากผลของท่าของเท้าที่บิดขณะอยู่ในครรภ์
การรักษา
การดัดและใส่เฝือก
การผ่าตัด
ผ่าตัดเนื้อเยื่อ
ผ่าตัดกระดูก
ผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก
ฝ่าเท้าแบน
Flat feet
ฝ่าเท้าของคนปกติเมื่อยืนจะมีช่องใต้ฝ่าเท้าเราเรียก archในเด็กเล็กจะไม่มีซึ่งจะ เริ่มมีตอนเด็กอายุ 3-10 ปี ถ้าโค้งใต้ผ่าเท้าไม่มีเราเรียกเท้าแบนหรือ flat feet
อาการและอาการแสดง
อาการขึ้นกับความรุนแรงของความแบนราบ
ผู้ป่วยจะมีตาปลา ผิวหนังฝ่าเท้าหนาผิดปกติ
รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
ปวดผ่าเท้า
สาเหตุ
เป็นพันธุกรรมในครอบครัว
เกิดจากการเดินผิดปกติเช่นการเดินแบบเป็ดคือมีการบิดของเท้าเข้าข้างใน
เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
ความพิการทางสมอง
Cerebral Palsy
สาเหตุ
ก่อนคลอด
อาจมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ
มารดาเป็นโรคแทรกซ้อนขณะต้ังครรภ์ ได้แก่ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับมารดาขณะต้ังครรภ์
ระหว่างคลอด/หลังคลอด
-ปัญหาระหว่างคลอด : คลอดยาก , สมองกระทบกระเทือน ,ขาดออกซิเจน , ทารกคลอดก่อนกำหนด
การรักษา
1.ป้องกันความผิดรูปของข้อต่างๆโดยใช้วิธีทาง
-กายภาพบำบัด (PhysicalTherapy)
-อรรถบำบัด (Speech and Language Therapy)
2.ลดการเกร็ง โดยใช้ยา
-ยากินกลุ่ม diazepam
-ยาฉีดเฉพาะที่ ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบันคือกลุ่มBotox
3.การผ่าตัด
-การผ่าตัดลดความตึงของกล้ามเน้ือโดยผ่าคลายเฉพาะกล้ามเน้ือที่ยึดติด
-การย้ายเอ็นเพื่อสร้างความสมดุลของข้อ
-การผ่าตัดกระดูก ในรายที่กระดูกถูกดึงจนผิดรูปแล้ว
มะเร็งกระดูก
(Osteosarcoma)
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้ำหนักลด
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่เป็นผิดปกติ รับน้ำหนักไม่ได้
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้นๆ
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ
-ระยะเวลาการมีก้อนเนื้องอก อาการปวด การเคลื่อนไหว
2.การตรวจร่างกาย
-น้ำหนัก ตำแหน่งของก้อนการเคลื่อนไหว ต่อมน้ำเหลือง
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-MRI,CT เพื่อดูการแพร่กระจายของโรค หาระดับอัลคาไลน์ฟอสฟาเตส (ALP) และระดับแลคเตสดีไฮโดรจิเนส(LDH)มีค่าสูงข้ึน
การรักษา
1.ผ่าตัด
2.เคมีบำบัด
3.รังสีรักษา
Omphalocele
ลักษทางคลินิก
ภายหลังคลอดพบบริเวณกลางท้องทารกมีถุง omphalocele ติดอยู่กับผิวหนัง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 4 ซม. ข้ึนไป จนมากกว่า 10ซม. ตัวถุงเป็นรูปโดมผนังบางมองเห็นอวยัวะภายในได้ อวยัวะท่ีอยู่ในถุงอาจประกอบไปด้วยลำไส้เล็กลำไส้ใหญ่กระเพาะอาหารม้ามและตับ
การรักษา
conservative
operative
Gastroschisis
การมีผนังหน้าท้องแยกจากกัน
การวินิจฉัย
เมื่อคลอดพบว่าท่ีหน้าท้องทารกจะพบถุงสีขาวขุ่น บาง ขนาดต่าง ๆ กันสามารถมองเห็นขดลำไส้หรือ ตับ ผ่านนผนังถุงอาจมีส่วนของถุงบรรจุ wharton’s jelly สายสะดือติดอยู่กับ ตัวถุง ขนาดที่พบตั้งแต่ 4 – 10 cm
นางสาวปภารดา คาแพง เลขที่46
รหัส613601154 ห้อง2B