Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สารชีวโมเลกุล (Biomolecule) - Coggle Diagram
สารชีวโมเลกุล (Biomolecule)
คาร์โบไฮเดรต
Monosaccharides
น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวที่มีจำนวน C น้อยที่สุด
3(triose) , 4(tetrose) , 5(pentose) , 6(hexose)
น้ำตาลโมเลกุลเล็กสุด
เรียกตามจำนวน C ลงท้ายด้วย tose
แบบวงแหวน
Pentosesและhexosesสามารถสร้างวงโดยที่หมู่ketoneหรือaldehydeทำปฏิกิริยากับหมู่ OH
Glucoseเกิดปฏิกิริยาภายในโมเลกุลเกิดเป็นhemiacetal
C1 aldehyde & C5 OH
สร้างพันธะเกิดเป็นD- glucopyranose
โครงสร้างแบบวงแหวนของ Fructose
วงแหวน 5 เหลี่ยม
Polysaccharides
น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวเกิน 10 โมเลกุล
สายโซ่ polymers ของ monosaccharide
หรือ disaccharide
ส่วนใหญ่ไม่ละลายน้ำ หรืออยู่เป็นคอลลอยด์
ไม่มีสมบัติในการรีดิวซ์
ไม่มีรสหวาน
แบ่งตามองค์ประกอบได้ 2 แบบ
Homopolysaccharide
น้ำตาลชนิดเดียว monosaccharideชนิดเดียว
glycogen
cellulose
แป้ง (starch)
Heteropolysaccharide
น้ำตาลมากกว่า1ชนิด
monosaccharide มากว่าหนึ่งชนิด
แบ่งตามหน้าที่
โพลีแซกคาไรด์ชนิดสะสม (storage polysaccaride)
พืช เก็บสะสม glucose ในรูปamylose หรือ amylopectin
ซึ่งเป็น glucose polymers เรียกว่าแป้ง (starch)
ถูกย่อยด้วยเอนไซม์ 3 ชนิด
บีต้า- amylase
อยู่ที่ลำไส้เล็กขับมาจากตับอ่อน
ข้าวมอลท์
ย่อยโพลีแซคคาไรด์เป็นมอลโตส
แอลฟ่า ,1 - 6 glucosidase
ย่อยตรงแขนงของอะไมโลเพคติน
แอลฟ่า - amylase
อยู่ในน้ำลาย แต่ไม่ย่อยในมอลโตส
โคร้งสร้าง Polysaccharides
ผนังเซลล์ของแบคทีเรีย
เป็นPolysaccharides เรียงขนานเชื่อมต่อกันด้วยสารเปปไทด์
เรียกว่า peptidoglycan คือโปรตีนรวมกับคาร์โบไฮเดรต
โพลีแซคคาไรด์โครงสร้างในสัตว์
มิวโคโพลีแซคคาไรด์ชนิดกรด
Chondroitin พบในกระดูกแข็ง กระดูกอ่อน แก้วตา เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
Heparin ป้องกันเลือดแข็งตัว พบมากในปอด ตับ ผนังเส้นเลือดใหญ่
Hyaluronic acid พบในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน น้ำหล่อลื่นตามข้อ ตามลูกตา
Derivative of carbohydate
สารที่เกิดจากปฏิกิริยาคาร์โบไฮเดรต
Sugar derivatives
Sugar alcohol
หมู่aldehyde or ketone ถูกแทนที่ด้วย OH มีรสหวาน
Inositol
Sorbitol
Glycerol
Sugar acid
หมู่aldehyde at C1, หรือ OH at C6, ถูก oxidized
เป็น carboxylic acid
glucuronic acid
ascorbic acid
gluconic acid
Amino sugar
หมู่amino แทนที่หมู่hydroxyl
Sugar deoxy
ไม่พบ O ของหมู่ -OH ที่พบมากคือ 2-deoxyribose
เป็นองค์ประกอบของ DNA
Sugar ester
เกิดจากปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ของโมโนแซคคาไรด์
Oligosaccharides
น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวที่มาสร้างพันธะเชื่อมต่อกันด้วยพันธะไกลโคไซด์(glycosidic bond)
ปฏิกิริยาสร้างพันธะไกลโคซิดิกของ Sucrose
น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวตั้งแต่ 2-10 โมเลกุล
Disaccharides - 2 monosaccharides
น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว 2 โมเลกุลมาสร้างพันธะกัน
Disaccharides หรือน้ำตาลโมเลกุลคู่
Maltose ได้จากการย่อยสลายแป้ง(starch) เป็นdisaccharide
Cellobiose ได้จากการย่อยสลายcellulose พันธะเป็นแบบ บีต้า
กรดไขมัน (fatty acid)
เป็นองค์ประกอบของลิพิดทุกชนิด
ได้จากไตรกลีเซอไรด์มาไฮโดรไลซ์
จะเป็นโซ่ตรง
มีจำนวน C เป็นเลขคู่อยู่ระหว่าง12-24 อะตอม
กรดไขมันที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
ประมาณ 40 ชนิด
กรดไขมันอิ่มตัว (Saturated fatty acid)
พันธะ C เป็นพันธะเดี่ยวทั้งหมด
กรดไขมันไม่อิ่มตัว (Unsaturated fatty acid)
พันธะคู่อย่างน้อย 1 พันธะ
แบ่งได้ 2 กลุ่ม
Monounsaturated fatty acid (monoenoic acid)
Polyunsaturated fatty acid (polyenoic acid)
กรดไขมันไม่อิ่มตัวที่พบมากที่สุด
กรดไลโนเลอิก (linoleic acid)
กรดโอเลอิก (oleic acid)
สมบัติ
แข็งตัวยาก
จุดหลอมเหลวต่ำ
เหม็นหืนง่าย
เพราะทำปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศและความร้อน
ไขมันจำเป็นต่อร่างกาย 2 ประเภท
กรดไขมันจำเป็น (essential fatty acid)
เป็นกรดไขมันที่ร่างกายสร้างไม่ได้
แต่มีความสำคัญและจำเป็นต่อการดำรงชีวิต
กรดลิโนเลอิก(linoleic acid)
เป็นสารตั้งต้นของกรดอะราชิโดนิก (Arachidonic acid)
กรดลิโนเลนิก (linolenic acid)
เป็นสารตั้งต้นของกรดไขมันชนิดโอเมกา
ไม่ใช่กรดไขมันจำเป็น (nonessential fatty acid)
เป็นกรดไขมันที่ร่างกายสร้างขึ้นเองได้
กรดโอเลลิก(oleic acid)
กรดปาลมิติก (palmitic acid)
กรดสเตียริก (stearic acid)
ชนิดของไตรกลีเซอไรด์
Simple triacylglycerol
ประกอบด้วยกรดไขมันชนิดเดียวกัน
เรียกตามชนิดของกรดไขมัน ลงท้ายด้วย –in
เช่น tristearin triolein
Mixed triacylglycerol
ประกอบด้วยกรดไขมันมากกว่าหนึ่งชนิด
เรียกชื่อกรดไขมันทุกชนิดพร้อมบอกตำแหน่ง
1-palmitoleoyl
2-lynoleoyll
3-stearoyl glycerol
สมบัติทางเคมีของไตรกลีเซอไรด์
ปฏิกิริยาปอนนิฟิเคชัน(Saponification)
ทำปฏิกิริยากับเบสแก่ เช่น โซเดียมไฮดรอกไซด์(NaOH)
เลขซาพอนนิฟิเคชัน(Saponification number) การทำสบู่
ค่าสูง มีเปอร์เซ็นต์ไตรกลีเซอไรด์ที่มีโซ่สั้นๆ
น้ำหนักโมเลกุลต่ำจำนวนมาก
ปฏิกิริยาไฮโดรจีเนชัน(Hydrogenetion)
การเติมไฮโดรเจนในกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัวที่ตำแหน่งพันธะคู่
เลขไอโอดีน (Iodine Number) วัดความไม่อิ่มตัวของลิพิด
ปฏิกิริยาไฮโดรลิซีส(Hydrolysis)การแยกสลายด้วยน้ำของไตรกลีเซอไรด์ได้กลีเซอรอลและกรดไขมัน
กรดอะมิโนและโปรตีน
กรดอะมิโนเป็นองค์ประกอบของโปรตีนเป็นสารประกอบอินทรีย์ที่พบมากที่สุดของสิ่งมีชีวิต
กรดอะมิโนประกอบด้วยธาตุ
C H O และ N เป็นองค์ประกอบหลัก
ปฏิกิริยาของกรดอะมิโนและโปรตีน
Dansyl chloride
ใช้ทดสอบกรดอะมิโนและโปรตีน
ได้สารเรืองแสงสีเขียว หรือน้ำเงิน-เขียว
Biuretใช้ทดสอบพันธะเปปไทด์
ได้สารสีม่วง
Sanger's regent
ใช้ทดสอบกรดอะมิโนและโปรตีน
ได้สารสีเหลือง
Ninhydrin ใช้ทดสอบ กรดอะมิโนและโปรตีน
ได้สารเชิงซ้อนสีน้ำเงิน
โครงสร้างโปรตีน
Tertiary structure(โครงสร้างตติยภูมิ)
Primary structure(โครงสร้างปฐมภูมิ)
Quaternary structure(โครงสร้างจตุรภูมิ)
Secondary structure (โครงสร้างทุติยภูมิ)
เอนไซม์
การจัดประเภทเอนไซม์
Enzymes Classification
Isomerase เร่งปฏิกิริยาการเปลี่ยนไอโซเมอร์
Ligaseเร่งปฏิกิริยํากํารสร้ํางพันธะ(C-C, C-S , C-O , C-N )
Lyasesเร่งปฏิกิริยํากํารตัดพันธะC-C , C-S , C-N
และเติมหมู่ธาตุเข้ําพันธะคู่
Hydrolase เร่งปฏิกิริยาการย่อยสลายด้วยน้ำ
Transferase เร่งปฏิกิริยํากํารย้ายหมู่ที่ไม่ใช่ H
Oxidoreductase เร่งปฏิกิริยา Oxidation-reduction (ถ่ายทอดอิเล็กตรอน)
ความจำเพาะขึ้นอยู่กับบริเวณเร่งของเอนไซม์
Coenzyme เป็นสารอินทรีย์พวก
วิตามินหรืออนุพันธ์ของวิตามิน
มีความจำเพาะ (specific)ต่อสารตั้งต้นและจำเพาะต่อปฏิกิริยา
สามารถเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยาโดยไม่ต้องใช้อุณหภูมิสูงขึ้น โดยทำให้activation energy ต่ำลง
Cofactor ไอออนของโลหะ
Mg2+, Zn2+ , Fe2+, K+ , Co2+
REVERSIBLE INHIBITORS
การยับยัง้แบบไม่แข่งขัน : Noncompetitive
ยับยั้งโดยจับกับ enzyme แต่ไม่ได้จับตรง active site
การยับยัง้แบบแข่งขัน (Competitive Inhibitor)
แข่งกับ substrate เข้าจับที่ active site ขัดขวํางไม่ให้ซับสเตรทเข้าจับได้
การยับยัง้แบบไม่แข่งขัน : Uncompetitive
ตัวยับยั้งจับกับโมเลกุลเชิงซ้อนของเอนไซม์กับซับสเตรต
ตรงบริเวณอื่นที่ไม่ใช่บริเวณเร่ง
ปัจจัย
ตัวยับยั้ง
อุณหภูมิ
ความเป็นกรด-ด่าง
ความเข้มข้นของเอนไซม์
ความเข้มข้นของสารตั้งต้น