Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
ความไม่รู้สึกตัว
เป็นภาวะของสมองที่ไม่มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ระดับความรู้สึกตัว
รู้สึกตัวดี(Full Consciousness)
ผู้ป่วยตื่น รู้สึกตัวดี รับรู้เวลา บุคคลและสถานที่ปกติ พฤติกรรมที่แสดงออกเหมาะสมกับวัย
รู้สึกสับสน(Confusion)
ผู้ป่วยรู้สึกสับสน มีความผิดปกติเกี่ยวกับการตัดสินใจ
การรับรู้ผิดปกติ(Disorientation)
ผู้ป่วยไม่รับรู้ต่อเวลา บุคคล และสถานที่ ระดับความรู้สึกตัวลดลง
รู้สึกง่วงงุ่น(Lethargy/Drowsy)
ผู้ป่วยเคลื่อนไหวได้เล็กน้อย มีอาการง่วงงุ่น พูดช้าและสับสน
กระตุ้นด้วยสิ่งเร้าหรือปลุกผู้ป่วยจะตอบโต้ได้ตามปกติ
แต่ถ้ากระต้นแล้วผู้ป่วยไม่สามารถตอบโต้ได้ เรียกว่า obtundation
รู้สึก stupor
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว หลับลึก แต่ยังตอบสนองต่อการกระตุ้นซ้ำๆกันหลายครั้งได้ แต่จะตอบสนองช้า
หมดสติ (Coma)
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆ
ท่าทาง (posturing) ของเด็กในภาวะหมดสติ
Decerebrate posturing
นอนหงาย แขนทั้ง 2 ข้างเกร็ง เหยียดออกและคว่ำแขนลงโดยบิดข้อมือออกด้านข้าง ขาทั้ง 2 ข้างเกร็ง เหยียดออกและแยกออกจากกัน
ท่านอนแบบนี้จะพบในเด็กหมดสติที่สมองส่วน Midbrain ไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
ปฏิกิริยาสะท้อนกลับ (Reflexes)
ในช่วงหมดสติระดับลึก (deep coma) จะพบว่า reflexes ต่างๆ ของเด็กจะหายไป
Decorticate posturing
นอนหงาย งอแขนทั้ง 2 ข้าง เข้าหาตัว ในระดับไหล่ กำมือแน่นและงอข้อมือทั้ง 2 ข้าง ส่วนขาทั้ง 2 ข้าง เหยียดปลายเท้าออก และงอปลายเท้าเข้าหากัน
โดยท่านอนแบบนี้จะพบในเด็กหมดสติที่มีการทำลายของเนื้อสมองส่วน cerebral cortex อย่างรุนแรง
Glasgow Coma Scale
Eye opening : E
3 คะแนน = ลืมตาเมื่อเรียหรือได้ยินเสียงพูด
2 คะแนน = ลืมตาเมื่อเจ็บ
1 คะแนน = ไม่ลืมตาเมื่อถูกกระตุ้น
4 คะแนน= ลืมตาเอง
Verbral response : V
กรณีเด็กอายุ 0-4 ปี
1 คะแนน = ไม่เปล่งเสียงร้องหรือไม่ตอบสนอง
2 คะแนน = ส่งเสียงครางเมื่อเจ็บหรือกระวนกระวายพักไม่ได้
3 คะแนน = ร้องไห้ตลอด / กรีดร้องเมื่อเจ็บ
4 คะแนน = พูดคุยเป็นคำและประโยคร้องไห้เมื่อถูกทำให้ระคายเคือง / ร้องไห้ แต่หยุด
5 คะแนน = ยิ้ม ฟัง มองตาม / ร้องเสียงดัง / พูดจ้อ
กรณีเด็กอายุ 5-18 ปี
1 คะแนน = ไม่เปล่งเสียง
2 คะแนน = เปล่งเสียงได้ แต่ไม่เป็นคำพูด
3 คะแนน = พูดได้เป็นคำ ๆ ค่อนข้างสับสนหรือพูดโดยไม่สอดคล้องกับคำถาม
4 คะแนน = พูดได้ แต่สับสน
5 คะแนน = พูดได้ไม่สับสน
กรณีผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจ ให้ใส่อักษร T
Motor respone : M
กรณีเด็กอายุ 0-4 ปี
2 คะแนน = แขนมีการเกร็งแบบศอกเหยียด
(Decerebrate)
3 คะแนน = แขนขามีอาการเกร็งแบบศอกงอ
(Decorticate)
1 คะแนน =ไม่มีปฏิกิริยาใดๆหรือไม่เคลื่อนไหวเลย
4 คะแนน = ชักแขนขาหนีเมื่อเจ็บ
5 คะแนน = ชักแขนขาหนีเมื่อจับ
6 คะแนน = เคลื่อนไหวได้เอง
กรณีเด็กอายุ 5-18 ปี
1 คะแนน =ไม่มีปฏิกิริยาใดๆหรือไม่เคลื่อนไหวเลย
2 คะแนน =แขนมีการเกร็งแบบศอกเหยียด
(Decerebrate)
4 คะแนน = ชักแขนขาหนีเมื่อเจ็บ
5 คะแนน = เคลื่อนไหวเมื่อรู้สึกเจ็บหรือทราบ
ตำแหน่งที่เจ็บ
3 คะแนน =แขนขามีอาการเกร็งแบบศอกงอ
(Decorticate)
6 คะแนน = ทำตามคาสั่งได้
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับการเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการสำคัญ
ชักเกร็ง ซึม ไม่ดูดนม
กรณีที่1 ไม่มีไข้
head injury, brain tumor, Epilepsy
กรณีที่2 มีไข้
การติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมอง, meningitis,encephalitis, tetanus
กรณีที่3 มีไข้สูง เกิน 38 องศาเซลเซียส อายุประมาณ 6 เดือน-5ปี ไม่มีการติดเชื้อของระบบประสาท นึกถึง febrile convulsion
การตรวจกำลังกล้ามเนื้อ
0 = ไม่มีการเคลื่อนไหวหรือการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อ
1 = มีการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อบ้างเล็กน้อย แขนขาขยับได้บ้างเล็กน้อย
2 = มีการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมากกว่าระดับ 1 แต่ยกแขนขาไม่ได้
3 = มีแรงยกแขนขาได้โดยไม่ตก
4 = มีแรงยกแขนขา ต้านแรงผู้ตรวจได้บ้าง
5 = กล้ามเนื้อมีแรงปกติเหมือนคนทั่วไป
Febrile convulsion
อาการชักที่สัมพันธ์กับมีไข้
โดยไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อของระบบประสาทหรือความไม่สมดุลย์ของเกลือแร่ ในเด็กที่อายุมากกว่า 1 เดือน
โดยที่เด็กไม่เคยมีอาการชักโดยไม่มีอาการไข้มาก่อน
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้า
มีความผิดปกติของระบบประสาทก่อนมีอาการชัก
ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อ
อายุ โดยเฉพาะเด็กที่มีอาการชักครั้งแรกในช่วงอายุก่อน 1 ปี
สาเหตุ
การติดเชื อในระบบต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ระบบประสาท
อาการ
มีอาการชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส
อาการชัก
เกิดขึ นภายใน 24 ชม.แรกที่เริ่มมีไข้
กเกิดในเด็กอายุ 3 เดือน ถึง 5 ปี
พบมากช่วงอายุ 17 – 24 เดือน
ชนิด
Simple febrile seizure (primary febrile seizure)
มีไข้ร่วมกับชักในเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี
การชักเป็นแบบทั้งตัว (generalized seizure)
ระยะเวลาการชักเกิดช่วงสั้นๆ ไม่เกิน 15 นาที
ไม่มีการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
ก่อน – หลัง ชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
Complex febrile seizure
การชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทั งตัว
(Local or Generalized seizure)
ระยะเวลาการชักเกิดนานมากกว่า 15 นาที
เกิดการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
หลังชักจะมีความผิดปกติของระบบประสาท
เด็กที่ชักชนิด complex มีอัตราเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคลมชัก
ประเมินสภาพ
การซักประวัติ
ไข้ , การติดเชื้อ , ประวัติครอบครัว , การได้รับวัคซีน , โรประจำตัว,
ประวัติการชัก , ระยะเวลาของการชัก เป็นต้น
ประเมินสภาพร่างกาย การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษอื่น ๆ
Epilepy
ภาวะที่ทำให้เกิดอาการชักซ้ำ ๆ อย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป และอาการชักครั้งที่ 2 ต้องห่างกันมากกว่า 24 ชั่วโมง โดยไม่ได้เกิดจากสาเหตุมีปัจจัยกระตุ้น
พบได้บ่อยในเด็กโรคระบบประสาท พบได้ร้อยละ 4-10 ของเด็กทั่วไป
พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ
ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง,ภยันตรายระหว่างการคลอดหรือหลังคลอด,
ภยันตรายที่ศีรษะ,ความผิดปกติของสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย,น้ำตาลในเลือดต่ำ,ความผิดปกติพัฒนาการทางสมอง
โรคหลอดเลือดสมอง,สารพิษและยา,โรคระบบประสาทร่วมกับความผิดปกติของผิวหนัง, โรคทางพันธุกรรม
ไม่ทราบสาเหตุ
จากความผิดปกติของ Neurotransmission ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของยีน
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้
มีพยาธิสภาพภายในสมอง จัดอยู่ในกลุ่ม Symtomatic epilepsy
อาการและอาการแสดง
Preictal period
อาการเตือน (Aura)
ลักษณะอาการเตือนแตกต่างกันตามตำแหน่งของสมอง เช่น มีอาการปวด ชา เห็นภาพหลอน เป็นต้น
อาการนำ (Seizure prodromes)
อาการบางอย่างที่นามาก่อนมีอาการชัก อาจเกินนานหลายนาที ชั่วโมงก่อนชัก ไม่มีอาการจำเพาะ
Peri-ictal period
เกิดขึ้นทันทีทันใด
ส่วนใหญ่มีลักษณะเหมือนกันทุกครั้ง
เกิดในระยะเวลาสั้น ๆ ไม่เกิน 5 นาทีและหยุดเอง มีส่วนน้อยที่ชักและดำเนินต่อเนื่องเป็น Status epilepticus
เกิดขึ้นเองแต่บางครั้งมีปัจจัยกระตุ้น
Postictal peroid
Postical paralysis หรือ Todd’s paralysis กล้ามเนื ออ่อนแรงเฉพาะที่
Automatism การเคลื่อนไหวร่างกายไปโดยอัตโนมัติขณะชัก
Interictal peroid
โดยทั่วไปจะไม่มีอาการแสดงใดๆ แต่อาจพบคลื่นไฟฟ้าสมองที่ผิดปกติ
ชนิด
อาการชักเฉพาะที่ (Partial / Focal seizure)
1.1 ชักเฉพาะที่แบบมีสติ (Simple partial seizures /Simple focal seizure) ขณะชักผู้ป่วยรู้ตัวตลอดเวลา
1.2 อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสติ (Complex partial seizures /Complex focal seizure) ขณะชักจะสูญเสียการรับรู้สติ เมื่อสิ้นสุดการชักจะจำเหตุการณ์ในช่วงชักไม่ได้
1.3 อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว (Focal with secondarily generalized seizures) เป็นอาการชักเฉพาะที่ซึ่งมีอาการเริ่มจากส่วนหนึ่งของร่างกายแล้วค่อย ๆ กระจายไป
อาการชักทั้งตัว (Generalized seizures)
2.1 อาการชักเหม่อ (Absence) มีลักษณะเหม่อลอย ไม่รู้สึกตัวชั่วครู เกิดขึ้นทันทีเป็นระยะเวลาสั้น ๆ
Typical absence seizures
เหม่อลอยไม่รู้สึกตัว เวลาที่เกิดประมาณ 5 – 10 วินาที อาการเกิดขึ้นทันทีและหายทันที
อาการชักเหม่อที่ไม่รู้ตัวหรือไร้สติเท่านั้น
อาการชักเหม่อที่มีอาการกระตุกหรือสะดุ้งเป็นช่วงเวลาสั้นๆ
อาการชักเหม่อที่มีอาการตัวอ่อนร่วม
อาการชักเหม่อที่มีอาการเกร็งกล้ามเนื้อร่วม
อาการเกร็งกระตุก (Tonic clonic seizures)
ชักเกร็งกระตุก
ทั้งตัว ผู้ป่วยจะหมดสติ ร่วมกับมีอาการเกร็งและกระตุกกล้ามเนื้อ
อาการชักกระตุก (Clonic seizures) ชักกระตุกเป็นจังหวะ
อาการชักเกร็ง (Tonic seizures)
เมื่อมีอาการจะมีลัษณะแขนขาเหยียดตรง อาจเกิดทันทีหรือค่อยเป็นไป ผู้ป่วยไม่มีสติ
อาการชักตัวอ่อน (Atonic seizures)
มีการ
เสียความตึงตัวของกล้ามเนื้ออย่างทันทีเมื่อเกิดอาการชัก
อาการชักสะดุ้ง (Myoclonic seizures)
มีการหดตัวของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรงและรวดเร็วมาก อาการคล้ายสะดุ้งตกใจ อาการชักแต่ละครั้งสั้นมากใช้เวลาไม่กี่วินาที
Meningitis
เกิดจากเชื้อ นิวโมคอคคัส
H. Influenzae และเมนิงโกคอคคัส
พบใน
เพศชายมากกว่าเพศหญิง
อาการและอาการแสดง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
มีอาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติ คอแข็ง
ตรวจพบ Kernig sign และ
Brudzinski sign ให้ผลบวก รีเฟล็กซ์ลึกไวเกิน
มีอาการที่แสดงว่าเส้นประสาทสมอง
ถูกรบกวนหรือทำลาย (คู่ที่ 3, 4, 5, 6, 7, 8) ตรวจ Babinski ได้ผลบวก
เกิดจากเชื้อเมนิงโกคอคคัส
พบผื่นแดงที่ผิวหนัง จุดเลือดออก
กระจายทั่วๆ ไป รวมทั้งมีเลือดออกที่ต่อมหมวกไต
พบNeutrophilถึง ร้อยละ 85-
95 ใน CSFประมาณ 1,000-100,000 เซลล์/คิวบิคมิลลิเมตร
การตรวจน้ำไขสันหลัง
ค่าปกติของน้ำไขสันหลัง ปกติจะไม่มีสี
ความดันระหว่าง 75 – 180 มม.น้า (5 – 15 มม.ปรอท)
ไม่มีเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว
โปรตีน 15 – 45 mg / 100 ml (1% ของ serum protein)
กลูโคส 50 – 75 mg / 100 ml
คลอไรด์ 700 – 750 mg / 100 ml
Culture & Latex agglutination
ชนิด
เฉียบพลันจากแบคทีเรีย
กลูโคสต่ำ
โปรตีนสูง
เซลล์ พีเอ็มเอ็น,
มัก > 300/mm³
เฉียบพลันจากไวรัส
กลูโคสปกติ
โปรตีนปกติหรือสูง
เซลล์โมโนนิวเคลียร์,
< 300/mm³
วัณโรค
โปรตีนสูง
กลูโคสต่ำ
เซลล์โมโนนิวเคลียร์และ
พีเอ็มเอ็น, < 300/mm³
Meningococcal Meningitis
เชื้อสาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ รูปร่างกลมคล้ายเมล็ดถั่ว
การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจ
วิธีทางชีวเคมี และวิธี PCR (กรณีเก็บตัวอย่างเชื้อบริสุทธ์)
วิธีตรวจหาค่า Minimum inhibition concentration (MIC)
วิธี seminested-PCR
ระยะติดต่อ
ผู้ที่สามารถแพร่เชื้อได้ คือ ผู้ที่ไม่มีอาการ(พาหะ)
สามารถแพร่โรคได้
จนกว่าจะตรวจไม่พบเชื้อในน้ำมูก น้ำลายแล้ว
วิธีการติดต่อ
เชื้อนี้ติดต่อจากคนไปสู่คน
เชื้อจะออกมาทางละอองน้ำมูก น้ำลาย (droplet)
จากปากหรือจมูกของผู้ที่เป็นพาหะ
หรือผู้ป่วย โดยมีระยะฟัก
ตัวประมาณ 2-10 วัน (เฉลี่ย 3-4 วัน)
เกิดโรคได้ 3 แบบ
แบบไม่มีอาการหรืออาการน้อย
เชื้อเจริญในเนโซฟาริ้งซ์ ทาให้เกิดการอักเสบ
เฉพาะที่เล็กน้อย มักไม่มีอาการ
ส่วนใหญ่พบกลุ่มนี้มาก และมักเป็นต้นตอของการ
แพร่เชื้อต่อไปได้อีก
แบบเชื้อแพร่เข้ากระแสเลือดหรือเลือดเป็นพิษ (meningococcemia)
เชื้อเข้า
ในกระแสเลือด เลือดจะมาเลี้ยงที่ปลายหลอดเลือดเป็นจำนวนมาก
ผู้ป่วยจะมี
ผื่น เลือดออกตามผิวหนัง
ในรายที่รุนแรงจะมีเลือดออกในลาไส้และต่อมหมวกไต
แบบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitidis)
เชื้อที่เข้าเยื่อหุ้มสมองทาให้เกิดอาการ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ำเลือด
(pink macules) ขึ้นตามผิวหนังร่วมด้วย และอาจเกิดภาวะช็อกอย่างรวดเร็ว
Meningococcemia
Acute Meningococcemia
มีอาการปวดศีรษะ เจ็บ
คอและไอ เป็นอาการนำมาก่อน
ตามด้วยไข้สูง หนาวสั่น ปวดตามข้อและตาม
กล้ามเนื้อ โดยเฉพาะที่ขาและหลัง
อาจมาด้วยไข้และมีผื่นแดงจ้ำขึ้น
ตามตัว ใน 2-3 วันต่อมา จะเปลี่ยนเป็นสีคล้ำจนเป็นสะเก็ดสีดำ
บางทีเป็นตุ่มน้ำ
มีจุดแดงอยู่ตรงกลาง ส่วนใหญ่จะมีผื่นหลังไข้ขึ้น 24-48 ชั่วโมง
Chronic Meningococcemia
พบได้น้อย ส่วนใหญ่มักมีไข้ ผื่นตามผิวหนัง
อาจเป็น ผื่นแดงจ้ำ ปวดและเจ็บข้ออยู่เป็นเดือน ไข้จะเป็นๆ หายๆ
Fulminant Meningococcemia
เป็นอย่างรุนแรง ระบบไหลเวียนโลหิตไม่
ทำงาน อาจ ช็อคถึงเสียชีวิตได้ ในเวลาไม่นานหลังจากเริ่มมีอาการ
ไข้สูงทันทีอ่อนเพลียมาก แล้วเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีหลอดเลือดตีบทั่วร่างกาย
Meningitis
มีอาการไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ซึมและสับสน อาการจะแย่ลงอย่างรวด
ผู้ป่วยส่วนหนึ่งจะมีจ้าเลือดออกตามผิวหนัง
การรักษา
Glucocorticoid therapy ก่อนการให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
ยาปฏิชีวนะ เช่น Ceftriaxone /PGS/Chloramphenicol
การรักษาแบบประคับประคองและตามอาการอื่นๆ
การป้องกัน
บุคคลที่อยู่ร่วมกับผู้ป่วยในบ้านเดียวกัน และผู้ที่สัมผัสใกล้ชิด (Close contact) กับผู้ป่วย
ต้องได้รับยาป้องกันได้แก่ Rifampicin หรือ ceftriaxone หรือ ciprofloxacin
ให้ความรู้และประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคแก่ประชาชน
ใช้วัคซีนป้องกันโรค ใน Serogroups A, C, Y และ W135 ทั้งผู้ใหญ่และเด็กโต
สำหรับนักท่องเที่ยวการฉีดวัคซีนจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการติดโรคได้
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
Hydrocephalus
อาการสำคัญ
ศีรษะโตแต่กาเนิด,กระหม่อมหน้าโป่ง,ศีรษะโตเพิ่มขึ้น
เมื่อเทียบกับทรวงอก ปวดศีรษะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
Congenital Hydrocephalus
Obstructive Hydrocephalus
Communicate Hydrocephalus
อาการทางคลินิก
Cranium enlargement
หัวโตกว่าปกติเมื่อเทียบกับGrowth curve ปกติ
Suture separation
Fontanelle bulging
หนังศีรษะบางและเห็นเส้นเลือดดา
Macewen sign Cracked pot sound
อาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะสูงปวดศีรษะ, ตามัว, อาเจียน
ตากลอกลงล่าง กลอกขึ้นบนไม่ได้
ตาเขเข้าในมองไปด้านข้างไม่ได้เนื่องจากCN 6TH Palsy มองเห็นภาพ
ซ้อน
Hyperactive reflex
Irregular respiration
การพัฒนาการช้ากว่าปกติ
Mental retardation
Failure to thrive
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา
ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide ช่วยลดการสร้างนาหล่อสมองและไขสันหลัง ประมาณ 25-50%
2.การรักษาด้วยการผ่าตัด
1.) การผ่าตัดใส่สายระบายนาในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
2.) การผ่าตัดใส่สายระบายนาในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย ผ่าตัดใส่สายระบายจาก
โพรงสมองลงช่องท้อง
โพรงสมองลงช่องหัวใจ
โพรงสมองลงช่องปอด
โพรงสมองลงช่องใต้เยื่อหุ้มสมอง
โพรงสมองทารกในครรภ์ลงถุงน้ำคร่ำ
สายระบายน้ำในโพรงสมอง
สายระบายจากโพรงสมอง(Ventricular shunt)
วาล์ว(Valve)และส่วนที่เก็บน้ำหล่อสมอง(Reservoir)
สายระบายลงช่องท้อง(Peritoneal shunt)
โรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
Shunt malfunction
Shunt infection
Shunt obstruction
Overdrainage
Slit ventricle
Intraventricular
hemorrhage
Shunt nephritis
การรักษา IICP
1.รักษาเฉพาะ
รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิด IICP เช่น เนื้องอก การอุดกั้นทางเดินน้ำไขสันหลัง
2.การรักษาเบื้องต้น กรณีมีIICPสูงอย่างเฉียบพลัน
การจัดท่านอนนอนราบศีรษะสูง 15 – 30 องศา
กรณีผู้ป่วยมีการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทอย่างรวดเร็ว ซึม ไม่รู้สึกตัว แพทย์จะรักษาโดยการใส่ท่อหลอดลมคอและช่วยหายใจ
การให้ยาขับปัสสาวะ (Diuretic) ทางหลอดเลือดดำ
การรักษาความผิดปกติที่เกิดต่อเนื่องจากพยาธิสภาพเดิมหรือที่เกิดร่วม
Hydrocephalus : Obstructive , Communicating
ภาวะสมองบวม
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกักล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญ
มีก้อนที่หลัง หรือที่หน้าผาก ขาอ่อน
แรงทั้งสองข้าง ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา
นึกถึง Congenital Spina bifida occulta
Meningocele Meningomyelocele
ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง มีประวัติ ไม่ได้รับวัคซีน
ไม่มีประวัติการคลอดในรพ. เป็นชนต่างด้าว นึกถึง
Poliomyelitis
Spina Bifida
เป็นความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง
มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลัง
ออกมาตามตำแหน่งที่บกพร่องนั้น พบบ่อยที่lumbosacrum
ชนิด
Spina bifida occulta
ผิดปกติกระดูกสันหลังส่วน Vetebral arches
ไม่รวมตัวกัน
เกิดเป็นช่องโหว่ระหว่างแนวกระดูกสันหลัง
Spina bifida cystica
ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง
ทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง หรือเยื่อหุ้มสมองผ่านกระดูกออกมาให้เห็นเป็น
ถุงหรือก้อน มี 2 ชนิด
Meningocele
ประกอบไปด้วยเยื่อหุ้มสมอง
นาไขสันหลัง ไม่มีเนื อเยื่อประสาทไขสันหลัง
ไขสันหลังอยู่ตาแหน่งปกติ ไม่
เกิดอัมพาต
Myelomeningocele หรือ Meningomyelocele
กระดูกสันหลังผิดปกติ มีก้อนยื่นออกมา ก้อนหรือถุง มีเยื่อหุ้มสมอง น้ำไข
สันหลังและไขสันหลัง
พบบ่อย อันตรายและเกิดความพิการ ความรุนแรง
ขึ้นกับตำแหน่ง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
มารดาไม่ได้รับกรดโฟลิคขณะตั้งครรภ์ , ได้ยากันชัก
ประเภท Valporic acid
การตรวจร่างกาย
แขนขาอ่อนแรง พบก้อนหรือถุงตามแนวกระดูก
สันหลัง
การตรวจพิเศษ
การตรวจระดับ alpha fetoprotein ขณะตั้งครรภ์
ผิดปกติ เป็นต้น
การรักษา
spida bifida occulta ไม่จำเป็นต้องรักษา
แต่ชนิด Cystica ต้อง
ผ่าตัดภายใน 24 – 48 ชั่วโมงภายหลังเกิด เพื่อลดการติดเชื้อ
มักทา V P Shunt ภายหลัง
ทารกมักต้องผ่าตัดหลายครั้ง
การป้องกัน
ให้กรดโฟลิคแก่หญิงตั้งครรภ์จะช่วยลดการเกิดโรคได้
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
อาการสำคัญ
ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจ
ไม่มีประสิทธิภาพ การดูดกลืนบกพร่อง เลี้ยงไม่โต ข้อติดแข็ง พัฒนาการล่าช้า
มีประวัติ สมองขาดออกซิเจน นึกถึง Cerebral palsy
Cerebral palsy
ความบกพร่องของสมอง
ชนิด
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
1.1 Splastic quadriplegia
ความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขา
ทั้ง 2 ข้าง คอและลาตัวอ่อนผิดปกติ ศีรษะเล็ก น้าลายไหล
1.2 Splastic diplegia
มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2
ข้าง ขาเป็นมากกว่าแขน
1.3 Splastic hemiplegia
ผิดปกติที่แขนขาซีกใดซีกหนึ่ง
Extrapyramidol cerebral palsy (athetoidsis)
การเคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น
บังคับส่วนต่างๆของร่างกายให้ไปในทิศทางที่ต้องการไม่ได้ กล้ามเนื ออ่อนปวกเปียก
Ataxia cerebral palsy
มีเดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื อตึงตัว
น้อย ทรงตัวได้ไมดี สติปัญญาปกติ
Mixed type หลายอย่างร่วมกัน
อาการและอาการแสดง
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า โดยเฉพาะด้านกาเคลื่อนไหว
การทรงตัวผิดปกติ
ปัญญาอ่อน
อาการอื่นๆ ร่วม เช่น ชัก หูหนวก ตาบอด
ประเมินสภาพ
ประเมินร่างกาย
เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น ท่าทางการเคลื่อนไหวผิดปกติ
พัฒนาการไม่เป็นไปตามวัย
ซักประวัติ
มารดามีการติดเชื้อขณะคลอด
เป็นหัดเยอรมัน คลอดท่าก้น
เด็กมีพัฒนาการช้ากว่าวัย ตัวเกร็งแข็ง