Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มดลูกปลิ้น : (Uterine Invertion) - Coggle Diagram
มดลูกปลิ้น :
(Uterine Invertion)
ความหมาย
"ภาวะที่ยอดมดลูกรั้งลงมาส่วนล่างของโพรงมดลูก ซึ่งอาจพ้นปากมดลูกออกมา หรือโผล่ออกมาถึงปากช่องคลอด"
สาเหตุ
สาเหตุส่งเสริม
มีพยาธิสภาพที่มดลูก
เช่น ผนังมดลูกบางและยืดมาก มีก้อนเนื้องอกที่ผนังมดลูก รถฝั่งตัวส่วนยอดมดลูก
ผนังมดลูกหย่อน
พบมดลูกปลิ้นภายหลังคลอดที่มีความดันในช่องท้องเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในขณะมดลูกคลายตัว เช่น ไอ หรือ จาม
สาเหตุฉุกเฉิน (Exciting cause)
ล้วงรก (Manual removal of placenta
)
เพิ่มแรงดันช่องท้อง เช่น เบ่งคลอดรก
ปฏิบัติระยะ 3 ไม่ถูก
เช่น กดบริเวณยอดมดลูกมากเกิน ทำคลอดโดยดึงสายสะดือแรงเกินไป เพื่อช่วยคลอดรกในขณะรกลอกตัวไม่หมด ทำคลอดเด็กมีสายสะดือสั้นโดยเฉพาะใช้ครีมช่วยคลอด
ชนิดของมดลูกปลิ้น
แบ่งตามระดับความรุนแรงของภาวะมดลูกปลิ้น แบ่งเป็น 3 ชนิด
มดลูกปลิ้นแบบไม่สมบูรณ์ (incomplete inversion)
มดลูกส่วนที่ปลิ้น ยังไม่พ้นปากมดลูก หรือ ภาวะที่ยอดมดลูกยุบตัวเข้ามาอยู่ในโพรงมดลูกบางส่วน
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์ (complete inversion)
มดลูกส่วนที่ปลิ้นพ้นปากมดลูก หรือ ภาวะที่ยอดมดลูกยุบตัวเข้ามาในกลุ่มมดลูกและผ่านพ้นปากมดลูกออกมา
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์และเคลื่อนต่ำลงมานอกปากช่องคลอด (prolapse of complete inverted uterus)
ภาวะที่ยอดมดลูกยุบตัวผ่านออกมาพ้นปากช่องคลอดออกมา
(Introitus)
แบ่งตามระยะเวลาการเกิดภาวะมดลูกปลิ้น
Acute uterine inversion
เกิดภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด
Subacute uterine inversion
เกิด 24 ชั่วโมงหลังคลอดจนถึง 1 เดือนหลังคลอด
Chronic uterine inversion
เกิดตั้งแต่ 1 เดือนหลังคลอด
อุบัติการณ์
พบได้ประมาณ 1 ต่อ 2,000 ของการคลอด เกือบทั้งหมดเกิดจากการดึงสายสะดือในการช่วยทำคลอดรก
พยาธิสภาพ
การปลิ้นของมดลูกภายหลังทารกคลอด :point_right:ปากมดลูกส่วนล่างจะมีการหดรัดตัวเป็น
"วงแหวน"
ล้อมรอบส่วนของมดลูกที่หย่อนตัวลงมา :point_right:บริเวณที่ถูกรัดไว้นั้นขาดเลือดไปเลี้ยง:point_right:การบวมมีเนื้อตาย:point_right:เนื้อตายนั้นจะหลุดออกมา
อาการและอาการแสดง
อาการปวดท้องอย่างรุนแรง
ถ้ารกยังไม่ลอกตัว หรือรกติดแน่น หากช่วยไม่ทันอาจตายได้
ตรวจหน้าท้อง
ในรายที่เป็นมดลูกปลิ้นชนิดไม่สมบูรณ์
พบยอดมดลูกเป็นแอ่ง หรือคล้ายปล่องภูเขาไฟ
ในรายที่มดลูกปลิ้นสมบูรณ์
จะคลำไม่พบยอดมดลูก
ในรายเรื้อรัง
ผนังมดลูกจะแห้ง เป็นแผล ทำให้เกิดการตกขาว เลือดออกกระปริบกระปรอย ปวดหลังจนถึงอุ้งเชิงกราน ถ่ายปัสสาวะติดขัด รู้สึกหน่วงช่องคลอด
การวินิจฉัย
อาการแสดง
ตกเลือด
พบประมาณ 94%
อาการช็อค
พบประมาณ 40%
ปวดท้องน้อยรุนแรง
เพราะมดลูกปลิ้น ทำให้มีการกระตุ้นปลายประสาท Ligamenta Luta กล้ามเนื้อมดลูก หรือเยื่อบุช่องท้อง
การตรวจหน้าท้อง
รายที่มดลูกปลิ้นไม่สมบูรณ์
ยอดมดลูกมีรอยบุ๋มคล้ายปล่องภูเขาไฟ
รายที่มดลูกปลิ้นสมบูรณ์
คลำไม่พบยอดมดลูก
ตรวจภายใน
คลำพบก้อนบริเวณปากมดลูก
คลำพบก้อนในช่องคลอด
ก้อนโผล่ออกนอกช่องคลอด
ทารกไม่หลุดเห็นติดก้อน
ผลกระทบ
ผลต่อมารดา
เลือดออกอย่างรุนแรง
เจ็บปวดมาก
ช็อคจากการเสียเลือด
อาจเป็นอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตได้
ผลต่อทารก
ทำให้ทารกได้รับความอบอุ่นจากมารดาล่าช้า
สร้างเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกล่าช้า
การรักษา
แจ้งให้ผู้ป่วยทราบว่า
"เกิดภาวะมดลูกปลิ้น"
ต้องทำการดันมดลูกกลับเข้าที่
ให้ยาสลบ (General anesthesia) โดยวิสัญญีแพทย์
รีบแก้ไขภาวะช็อค
ให้สารน้ำ Ringer's lactate solution หรือ Normal saline solution 1000 ml เข้าหลอดเลือดดำ
เจาะเลือดหาหมู่เลือด (Group matt) และให้เลือด
พิจารณาให้ morphine 2-4 mg ทางหลอดเลือดดำในกรณีปวดท้องมาก
ในกรณีรถยังไม่คลอด
ให้ทำคลอดรกก่อนแต่หากรกยังติดอยู่กับมดลูกส่วนที่ปลิ้น ไม่ควรทำคลอดรกควรแก้ไขภาวะช็อก และให้ดมยาสลบป้องกันการเสียเลือด
ในกรณีมดลูกมีการหดเกร็ง (Spasm)
ให้ Terbutaline หรือ Magnesium sulfate เพื่อให้มดลูกขายตัวก่อนด้านมดลูกกลับเข้าที่
ในกรณีรกลอกตัวและแยกออกจากมดลูกให้ดันมดลูกกลับเข้าที่ทันที
ไม่ผ่าตัด
ใช้วิธี
"Johnson manuver "
ด้านมดลูกให้มดลูกอยู่ในอุ้งมือบริเวณยอดมดลูก ส่วนผนังที่เหลือถูกรวมไว้ที่บริเวณรอยต่อระหว่างมดลูกและคอมดลูก ใช้อุ้งมือดันมดลูกขึ้นไปตามแนวทางในเชิงกราน จนกระทั่งมดลูกเคลื่อนขึ้นไปพ้นช่องเชิงกราน วิธีนี้ทำได้ง่ายสำเร็จ 82%
ผ่าตัด
Huntington, Haultrain, Ocejo, Spinelli
หลังรกลอกตัว
ให้ Oxytocin 20 unit ใน Normal saline solution 1000 ml และ Methergin 0.2 mg เข้าทางหลอดเลือดดำ เพื่อให้มดลูกหดรัดตัว
ตรวจทางช่องคลอดและเย็บซ่อมแซม
วัดสัญญาณชีพ และเฝ้าระวังตกเลือดหลังคลอด
ให้ยาป้องกันการติดเชื้อ และให้ยาพวกธาตุเหล็ก รักษาภาวะเลือดจาง
การพยาบาล
จัดท่าให้ผู้คลอดลดการดึงรั้งรังไข่ ยกปลายเตียงสูงขึ้น
"จัดท่านอน Trendelenburg's position หรือ Knee chest position"
ใช้ผ้าสะอาดชุบ Normal saline solution หรือ Hibitance solution คลุมมดลูกที่ปริ้นออกมา ป้องกันมดลูกแห้ง
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา เช่น Pethidine Morphine เพื่อลดเจ็บปวด
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ หรือ ให้เลือด เพื่อป้องกันภาวะช็อคจากการเสียเลือด
หลังแก้ไขภาวะช็อค
จัดท่านอน Lithotomy เพื่อให้ผู้คลอดได้รับการดมยาสลบ และด้านมดลูกกลับเข้าที่ และล้วงรก
ดูแลให้ได้รับ Oxytocin 20 unit ใน Normal saline solution 1000 ml หรือ Methrgin 0.2 mg เข้าทางหลอดเลือดดำ
เฝ้าระวังภาวะตกเลือดหลังคลอด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ในระยะทุก 4 ชั่วโมง
สังเกต และบันทึกปริมาณเลือดที่ออกมาทางช่องคลอด
บันทึกสัญญาณชีพทุก 2-4 ชั่วโมง
ข้อวินิจฉัย
มารดามีโอกาสเกิดมดลูกปลิ้น เนื่องจากทำคลอดรกไม่ถูกวิธี และหรือการฝังตัวของรกแน่นกว่าปกติ
มารดามีโอกาสตกเลือดหรือช๊อค เนื่องจาก มีภาวะมดลูกปลิ้น
มารดามีโอกาสตกเลือดหรือช๊อค เนื่องจาก มีภาวะมดลูกปลิ้น
มาดาและครอบครัว มีความวิตกกังวลและกลัว เนื่องจากภาวะมดลูกปลิ้น