Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หัดเยอรมัน - Coggle Diagram
หัดเยอรมัน
การวินิจฉัย :check:
-
-
3.2 ในหญิงตั้งครรภ์ที่สัมผัสเชื้อต้องตรวจ HAI titer ถ้าผลน้อยกว่า 1:8 หรือ 1:10 ต้องตรวจซ้ำครั้งที่ 2 เพื่อยืนยันการติดเชื้อ แต่ถ้าผลมากกว่าหรือเท่ากับ 1:8 หรือ 1:10 ต้องตรวจซ้ำครั้งที่ 2 ภายใน 2 สัปดาห์
-
3.1 ในสตรีทั่วไปโดยการตรวจหา Rubella titer ถ้าได้ค่าน้อยกว่า 1:8 หรือ 1:10 แสดงว่าไม่ติดเชื้อ และไม่มีภูมิคุ้มกันต้องระวังการติดเชื้อ
-
ผลกระทบ
ต่อมารดา
ทำให้ไม่สุขสบายจากอาการทางคลินิก และอาจทำให้แท้งบุตร หรือบุตรพิการแต่กำเนิดจากการที่เชื้อไปทำลายเนื้อรก
ต่อทารก
อาจทำให้พิการหรือแท้ง โดยขึ้นอยู่กับอายุครรภ์ ถ้าอายุครรภ์ยิ่งน้อยความรุนแรงของความพิการหรือการแท้งจุมากขึ้น แต่ถ้าอายุครรภ์มากกว่า 16 สัปดาห์ ความรุนแรงจะลดลงเนื่องจากทารกมีภูมิต้านทานต่อโรคเพิ่มขึ้น
ความพิการที่พบ
- ความพิการที่เกิดกับตา เช่น ต้อกระจก กระบอกตาเล็ก ต้อหิน จอตาบวม
- ความพิการที่หัวใจและหลอดเลือดหัวใจ เช่น หลอดเลือดพัลโมนารีตีบ ลิ้นหัวใจหรือผนังกั้นหัวใจรั่ว
- ความพิการเกี่ยวกับหูและการได้ยิน เช่น หูหนวก
แนวทางการรักษา :star:
การป้องกันหัดเยอรมัน
- ให้วัคซีนหัดเยอรมันร่วมกับวัคซีนอื่นในเด็กผู้หญิง โดยฉีดเข็มที่ 1 ตั้งแต่อายุ 1 ปี 3 เดือน หรือฉีดก่อนจบชั้นประถม
- ให้วัคซีนหัดเยอรมันแก่สตรีก่อนสมรสในรายที่ไม่เคยรับวัคซีน
- ให้วัคซีนหัดเยอรมันแก่สตรีสมรสแต่ก่อนตั้งครรภ์ 2-3 เดือน เพื่อให้เชื้อลดลงไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อทารก
-
-
-
เป็นโรคไข้ออกผื่นที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสหัดเยอรมัน ผู้ป่วยจะมีอาการไข้และออกผื่นคล้ายโรคหัด แต่จะมีความรุนแรงและโรคแทรกซ้อนน้อยกว่าหัด
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัสหัดเยอรมัน - rubella virus ติดต่อจากการสัมผัสโดยตรงหรือสัมผัสละอองของสารคัดหลั่งจากระบบทางเดินหายใจของผู้ป่วย โดยแพร่เชื้อได้ตั้งแต่ก่อนมีผื่นขึ้น 7 วันเรื่อยไปจนถึงหลังมีผื่นขึ้น 7 วัน และยังติดต่อจากแม่ไปสู่เด็กในครรภ์ได้