Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หัดเยอรมัน, นายวิษณุวัฒน์ อุดมเดชาเวทย์ เลขที่ 63 ห้อง ก - Coggle Diagram
หัดเยอรมัน
การวินิจฉัย
-
-
- การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
- 3.1 ในสตรีทั่วไปโดยการตรวจหา Rubella titer ถ้าได้ค่าน้อยกว่า 1:8 หรือ 1:10 แสดงว่าไม่ติดเชื้อ และไม่มีภูมิคุ้มกันต้องระวังการติดเชื้อ
- 3.2 ในหญิงตั้งครรภ์ที่สัมผัสเชื้อต้องตรวจ HAI titer ถ้าผลน้อยกว่า 1:8หรือ 1:10 ต้องตรวจซ้ำครั้งที่ 2 เพื่อยืนยันการติดเชื้อ แต่ถ้าผลมากกว่าหรือเท่ากับ 1:8 หรือ 1:10 ต้องตรวจซ้ำครั้งที่ 2 ภายใน 2 สัปดาห์
- 3.3 ในกลุ่มที่มีอาการทางคลินิกต้องตรวจ HAI titer ทันที และนัดให้มา ฟังผลใน 1-2 สัปดาห์
การแปลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
แนวทางการรักษา
การป้องกันหัดเยอรมัน
- ให้วัคซีนหัดเยอรมันแก่สตรีสมรสแต่ก่อนตั้งครรภ์ 2-3 เดือน เพื่อให้เชื้อลดลงไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อทารก
- ให้วัคซีนหัดเยอรมันแก่สตรีก่อนสมรสในรายที่ไม่เคยรับวัคซีน
- ให้วัคซีนหัดเยอรมันร่วมกับวัคซีนอื่นในเด็กผู้หญิง โดยฉีดเข็มที่ 1 ตั้งแต่อายุ 1 ปี 3 เดือน หรือฉีดก่อนจบชั้นประถม
-
-
อาการและอาการแสดง
อาการที่สามารถสังเกตเห็นได้ในช่วงแรกค่อนข้างมีอาการคล้ายกับการติดเชื้อไวรัสทั่วไป ซึ่งหลังจากได้รับเชื้อประมาณ 1-2 วัน ผู้ป่วยมักจะเริ่มมีอาการดังนี้
- มีไข้ต่ำถึงปานกลาง (ประมาณ 37.2-37.8 องศาเซลเซียส)
- ต่อมน้ำเหลืองโต โดยเฉพาะบริเวณคอ ท้ายทอย และหลังหู
- มีตุ่มนูน ผื่นแดงหรือสีชมพูขึ้นที่ใบหน้าก่อนจะลามลงมาตามผิวหนังส่วนอื่น ๆ เช่น แขน ขา และจะค่อย ๆ หายไปภายใน 3 วัน โดยผื่นมักมีลักษณะอยู่กระจายตัว ไม่กระจุกตัวเป็นกลุ่ม และเมื่อผื่นหายมักไม่ค่อยทิ้งรอยแผลจากผื่นทิ้งไว้ ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการคันตามผิวหนังร่วมด้วย
-
สาเหตุของหัดเยอรมัน
โรคหัดเยอรมันเกิดจากการติดเชื้อไวรัสชื่อ รูเบลลา ไวรัส (Rubella Virus) ที่อยู่ในน้ำมูกหรือน้ำลายของผู้ป่วย ซึ่งสามารถแพร่กระจายไปสู่ผู้อื่นได้ง่ายโดยการไอ จาม สูดเอาเชื้อที่อยู่ในอากาศเมื่อมีการติดต่อกับผู้ที่มีเชื้อชนิดนี้ รวมไปถึงการใช้สิ่งของที่ปนเปื้อนเชื้อไวรัสจากผู้ป่วย หากเป็นหญิงตั้งครรภ์จะสามารถส่งผ่านเชื้อให้ทารกได้โดยทางกระแสเลือด
ระยะการฟักตัวของโรคจะอยู่ในช่วง 14-23 วัน โดยเฉลี่ยประมาณ 16-18 วัน ผู้ป่วยสามารถแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่นได้ตั้งแต่มีเชื้อในร่างกายแม้ไม่มีอาการแสดงออกไปจนถึงหลังอาการผื่นขึ้นตามร่างกายหายไปประมาณ 2-3 สัปดาห์
ผลกระทบ
ต่อมารดา
ทำให้ไม่สุขสบายจากอาการทางคลินิก และอาจทำให้แท้งบุตร หรือบุตรพิการแต่กำเนิดจากการที่เชื้อไปทำลายเนื้อรก
ต่อทารก
อาจทำให้พิการหรือแท้ง โดยขึ้นอยู่กับอายุครรภ์ ถ้าอายุครรภ์ยิ่งน้อยความรุนแรงของความพิการหรือการแท้งจุมากขึ้น แต่ถ้าอายุครรภ์มากกว่า 16 สัปดาห์ ความรุนแรงจะลดลงเนื่องจากทารกมีภูมิต้านทานต่อโรคเพิ่มขึ้น
ความพิการที่พบ
- ความพิการที่เกิดกับตา เช่น ต้อกระจก กระบอกตาเล็ก ต้อหิน จอตาบวม
- ความพิการที่หัวใจและหลอดเลือดหัวใจ เช่น หลอดเลือดพัลโมนารีตีบ ลิ้นหัวใจหรือผนังกั้นหัวใจรั่ว
- ความพิการเกี่ยวกับหูและการได้ยิน เช่น หูหนวก
-