Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบกล้ามเนื้อ, นางสาวไอรดา รักคำ ห้อง 2A เลขที่…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้ ดูดซึมแคลเซียมกลับได้น้อย
โรคไตบางชนิดทำให้ไม่ามารถดูดกลับนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต
ภาวะฟอสเฟตต่ำจากการขาด Alkaline Phosphatase
ความหมาย
โรคของเมตาบอลิซึมของกระดูกที่พบในเด็ก
ความบกพร่องนการจับเกาะของเกลือแร่บนเนื้อกระดูก่อน
การแสดงอาการ
ในเด็กเล็ก ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น
ขวบปีแรกเด็กจะมีความผิดรูป
หลังหนึ่งขวบแล้วจะพบความผิดรูปมากขึ้น พบขาโก่ง กระดูกสันหลังคดหรือค่อม
ท่าเดินคล้ายเป็ด อาจเกิดกระดูกหักได้
การรักษา
แบบประคับประคอง
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
ข้ออักเสบติดเชื้อ (septic arthritis)
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ
การรักษา
ใช้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด
อาการ
มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง มักเป็นที่ ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อเท้า
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
วัณโรคกระดูกและข้อในเด็กพบร้อย 4 ของการติดเชื้อวัณโรคปอด
สาเหตุ :
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ จากการไอ จาม ของผู้ป่วย
อาการ :
จะเริ่มแสดงอาการหลังการติดเชื้อประมาณ 1-3 ปีที่กระดูก
กระดูกจะบางลงหรือแตก เกิดเป็นโพรงหนองที่ไม่มีลักษณะการอักเสบ
การรักษา :
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง ผ่าตัดเพื่อแก้การกดทับเส้นประสาท
Club Foot (เท้าปุก)
รูปร่างของเท้าที่มีลักษณะจิกลง (equinus) สันเท้าบิดเข้าใน (varus)
ส่วนกลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน (adduction and cavus)
สาเหตุ :
อาจเกิดจาก gene
ปัจจัยเสริม เช่น แม่สูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์ การติดเชื้อในครรภ์
การรักษา :
การดัดและใส่เฝือก
อาศัยการดัดให้รูปเท้าปกติ ดัดใส่เฝือกเพื่อรักษารูปเท้า ใส่นาน 2-3 เดือน
การผ่าตัด
2.1 การผ่าตัดเนื้อเยื่อ
ทำในอายุน้อยกว่า 3 ปี
2.2 การผ่าตัดกระดูก
ทำในอายุ 3- 10 ปี
2.3 การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก
ทำในช่วงอายุ 10 ปี ขึ้นไป
ฝ่าเท้าแบน (Flat feet)
อาการ :
อาการขึ้นกับความรุนแรงของความแบนราบ
ผู้ป่วยอาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าหนาผิดปกติ
ปวดฝ่าเท้า
ในรายที่รุนแรงผู้ป่วยจะมีอาการปวดน่อง เข่า และปวดสะโพก
สาเหตุ :
เป้นพันธุกรรมในครอบครัว
เกิดจากการเดินที่ผิดปกติ
เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
การรักษา :
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
Cerebral Palsy
ความพิการทางสมอง เด็กจะมีการเคลื่อนไหวร่างกายที่ผิดปกติ
ส่วนใหญ่สติปัญญาดี ไม่ปัญญาอ่อน
สาเหตุ :
ก่อนคลอด
ติดเชื้อ
มารดาเป็นโรคแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับมารดาขณะตั้งครรภ์
ระหว่างคลอดและหลังคลอด
คลอดยาก
สมองกระทบกระเทือน
ขาดออกซิเจน
ทารกคลอดก่อนกำหนด
การรักษา :
ป้องกันความผิดรูปของข้อ
กายภาพบำบัด
อรรถบำบัด
ลดความเกร็ง โดยใช้ยา
การผ่าตัด
การให้การดูแลรวมถึงให้กำลังใจ
การรักษาด้านอื่นๆ
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
อาการ :
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้ำหนักลด
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่ผิดปกติ
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้นๆ
การรักษา :
การผ่าตัด
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
Omphalocele
ความผิดปกติรูปแต่กำเนิิดของผนังหน้าท้อง โดยที่มีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ ทำให้บางส่วนขาดหาายไป
การรักษา :
conservative
ทำโดยใช้สารละลายฆ่าเชื้อ
operative
Gastroschisis
ผนังหน้าท้องแยกจากกัน
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้อง
ภายหลังจากช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์แล้ว เกิดการแตกทะลุของ
hermia of umbilical cord
การรักษา :
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด
เช็ดทำความสะอาด ลำไส้ส่วนที่สกปรก ป้องกันการติดเชื้อ
การดูแลหลังผ่าตัด
Respiratory distress
ใส่ endotrachial tube และให้ muscle relaxant 1-2 วันหลังผ่าตัด
Hypothermia
ต้องให้เด็กอยู่ในตู้อบ (incubator)
ปรับอุณหภูมิตามตัวเด็ก
Hypoglycemia , Hypocalcemia
สังเกตว่าเด็กจะมี tremor , cyanosis หรือ convulsion รายที่มี hypocalmia อาจจะเกิด periodic apnea
General care
จัดท่านอนหงาย สังเกตการหายใจ การขับถ่าย ตรวจดูว่ามี discharge ออกมาจากแผล swab culture
นางสาวไอรดา รักคำ ห้อง 2A เลขที่ 102 รหัสนักศึกษา 613601108