Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด, นางสาวนีรชา-มิตพะมา เลขที่11A -…
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด
Bonding (ความผูกพัน)
กระบวนการผูกพันทางอารมณ์ที่พ่อแม่หรือผู้ลี้ยงดูมีต่อทรกฝ่ายเดียว เกิดขึ้นตั้งแต่วางแผนตั้งครรภ์ ทราบว่าตั้งครรภ์ หรือเกิดขึ้นชัดเจนเมื่อรับรู้ว่าลูกดิ้นและเพิ่มสูงสุดเมื่อทารกคลอดออกมา
Attachment (สัมพันธภาพ)
ความรู้สึกรักใคร่ผูกพันระหว่างทารกกับพ่อแม่
หรือผู้ลี้ยงดูเกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเป็นพิเศษและคงอยู่ถาวร จะเกิดขึ้น
ทีละเล็กละน้อยจากความใกล้ชิด ห่วงไขอาทร เพิ่มขึ้นจนกลายเป็นความผูกพันทางใจ
จะใช้เวลาในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องยาวนาน
การพัฒนาสัมพันธภาพในระยะหลังคลอด
ในระยะแรกหลังคลอดทันที่ มารดาจะแสดงความรักความผูกพันกับลูก
ตั้งเเต่นาทีแรกหลังคลอดจนกระทั่งถึง 1 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
เป็นช่วงเวลาที่มารดามี
ความรู้สึกไวที่สุด (Sensitive period)
ทารกมีความตื่นตัว จึงเป็นช่วงเวลาสำคัญ
ที่ก่อให้เกิดความรักใคร่ผูกพันระหว่างมารดาทารก
กระบวนการพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ระยะก่อนการตั้งครรภ์
นั้นที่ 1 การวางแผนการตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
ขั้นที่2 การยื่นยันการตั้งครรภ์
ขั้นที่ 3 การยอมรับการตั้งครรภ์
ขั้นที่ 4 การรับรู้การเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์
ขั้นที่ 5 การยอมรับว่าทารกในครรภ์เป็นบุคคลคนหนึ่ง
ระยะคลอดและระยะหลังคลอด
ขั้นที่ 6การสนใจดูแลสุขภาพตนเองและทารกในครรภ์และการแสวงหาการคลอดที่ปลอคภัย
ขั้นที่ 7การมองดูทารก
ขั้นที่ 8การสัมผัสทารก
ขั้นที่ 9 การดูแลทารกและให้ทารกดูดนม
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก ในระยะแรกกิด
มีดังนี้
การสัมผัส (touch, tactile sense)
เริ่มสัมผัสบุตรด้วยการใช้นิ้วมือสัมผัสแขน ขา จากนั้นจะบีบนวดสัมผัสตามลำตัว ทารกจะมีการจับมือและดึงผมมารดาเป็นการตอบสนอง
การประสานสายตา (eye-to-eye contact)
พัฒนาการด้านความเชื่อมั่น ความไว้วางใจ และความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
มารคาจะรู้สึกผูกพันใกล้ชิด
มากขึ้นเมื่อทารกลืมตาและสบตาตนเอง
การใช้เสียง (voice)
เป็นการตอบสนองเริ่มทันทีที่ทารกเกิด มารดาจะรอฟังเสียงทารกร้องครั้งแรก เพื่อยืนยันภาวะสุภาพของทารกและทารกแรกเกิดจะตอบสนองต่อระดับเสียง
การเคลื่อนไหวเป็นจังหวะตามสียงพูด (entrainment)
ทารกจะเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ
ของร่างกายเป็นจังหวะสัมพันธ์กับเสียงพูดสูงต่ำของมารดา
ขยับแขน
ขายิ้ม
หัวเราะ
จังหวะชีวภาพ (biorhythmcity)
หลังคลอดทารกจะต้องปรับตัวให้เข้ากับสิ่งเวคล้อม
ภายนอกที่แตกต่างจากในครรภ์ของมารดา มารดาจะช่วยทารกให้สร้างจังหวะชีวภาพได้
ขณะที่ทารกร้องให้มารดาอุ้มทารกไว้แนบอกทารกจะรับรู้เสียงการเต้นของหัวใจมารดา ซึ่งทารกจะคุ้นเคยตั้งแต่ในครรภ์ ทำให้ทารกมีความรู้สึกมั่นคงยิ่งขึ้น
การรับกลิ่น (odor)
มารดาจำกลิ่นกายของทารกได้ตั้งแต่แรกคลอด และแยกกลิ่นทารกออกจากทารกอื่นได้ภายใน 3-4 วันหลังคลอด
ส่วนทารกสามารถเยกกลิ่นมารดา
และหันเข้าหากลิ่นน้ำนมมารดาได้ภายในเวลา 6- 10 วันหลังคลอด
การให้ความอบอุ่น (body warmth หรือ heat)
หลังทารกคลอดทันที ได้รับการ เช็ดตัวให้แห้ง ห่อตัวทารกและนำทารกให้มารดาโอบกอดทันที ทารกจะไม่เกิดการสูญเสียความร้อน และทารกจะเกิดความผ่อนคลายเมื่อได้รับความอบอุ่นจากมารดา
การให้ภูมิคุ้มกันทางน้ำนม (T and B Iymphoeyte)
ทารกจะได้รับภูมิคุ้มกันในนมแม่ ได้เก่ Tymphocyte, B lymphocyte และ Immunoglobulin A
ช่วยป้องกันและทำลายเชื้อโรคในระบบทางเดินอาหาร
การให้ภูมิคุ้มกันทางเดินหายใจ (bacteria nasal flora)
ขณะที่มารดาอุ้ม โอบกอดทารก จะมีการถ่ายทอดเชื้อโรคในระบบทางเดินหายใจ (normal flora) ของมารดาสู่ทารก เกิดภูมิคุ้มกันช่วยป้องกันทารกติดเชื้อจากสิ่งแวดล้อมภายนอก
การประเมินสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ใช้การสังเกต สอบถาม ซึ่งมีแนวทางการประเมินสัมพันธภาพ
ความสนใจในการดูแลตนเองของตนเองเละทารก
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาเละทารก
กวามสามารถในการปฏิบัติบทบาทการเป็นมารดา
ความสามารถในการตอบสนองความต้องการของทารก
พฤติกรรมของมารดาเละทารกที่แสดงถึงการขาดสัมพันธภาพ (Lack of attachment)
ไม่สนใจมองบุตร สีหน้าเมินเฉยหรือหันหน้าหนี
ไม่ตอบสนองต่อบุตร เช่น ไม่สัมผัส ไม่ยิ้ม ไม่อุ้มกอดทารก เป็นต้น
พูดถึงบุตรในทางลบ
แสดงท่าทางหรือคำพูดที่ไม่พึงพอใจขณะดูแลบุตร
ขาดความสนใจในการซักถามเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุตรและการเลี้ยงดูบุตร
บทบาทของพยาบาลผดุงครรภ์ในการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ระยะคลอด
. สร้างบรรยากาศให้เกิดความไว้วางใจ
ㆍ ลดความวิตกกังวลของผู้คลอด
. ไห้ข้อมูล เป็นสื่อกลางระหว่างผู้คลอดเละครอบครัว
. *ส่งเสริมให้การคลอดผ่านไปอย่างปลอดภัย
ระยะหลังคลอด
. *ส่งเสริมให้มารดาสัมผัสโอบกอดทารกทันทีหลังคลอด ในระยะ sensitive period
. *Rooming in โดยเร็วที่สุด
ㆍ ให้คำแนะนำในการดูแลบุตรตอบสนองความต้องการของมารดา
ㆍ กระตุ้นให้มีปฏิสัมพันธ์กับทารก
ㆍ เป็นตัวแบบในการสร้างสัมพันธภาพกับทารก
ㆍ ให้มารดา ทารก บิดา ได้อยู่ด้วยกันตามลำพัง
ระยะตั้งครรภ์
. ยอมรับการตั้งครรภ์
. ครอบครัวคอยให้กำลังใจ
. การปรับบทบาทการเป็นบิดา มารดา
ㆍ ยอมรับความเป็นบุคคลของทารกในครรภ์
ㆍ การกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์
นางสาวนีรชา-มิตพะมา เลขที่11A