Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การบริหารการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่ 6 การบริหารการพยาบาล
๑.ขอบเขตและความรับผิดชอบของผู้บริหารทางการพยาบาลในหน่วยบริการสุขภาพ
โครงสร้างระบบบริการสุขภาพ
๑.๑ การบริหารการพยาบาลในหน่วยบริการระดับปฐมภูมิ
๑. การวางแผน (Planning)
๑.๒ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและประเมินศักยภาพขององค์การโดยประเมินสถานการณ์และภาวะสุขภาพอนามัย
๑.๓ การจัดทำแผนกำหนดทางเลือกและเกณฑ์ปฏิบัติซึ่งอาจจะเป็นโครงการหรือกิจกรรมโดยพิจารณาให้สอดคล้องกับเป้าหมายวัตถุประสงค์
๑.๔ ปฏิบัติตามแผนหลังจากได้รับอนุมัติแผนงาน
๑.๕ ประเมินผลและทบทวนแผนการประเมินผลงานพยาบาลชุมชนควรประเมินทั้งความเพียงพอประสิทธิผลประสิทธิภาพ
๑.๑ กำหนดจุดมุ่งหมายขององค์กร กำหนดขอบเขตนโยบายทางการพยาบาลชุมชน
การจัดสรรงบประมาณ (Budget)
๒. การจัดองค์กรการพยาบาลในชุมชน
๒.๓ กระบวนการปฏิบัติงาน
๒.๔ บุคคลต้องมีการกำหนดมอบหมายงานภารกิจในแต่ละบุคคลและกำหนดการประสานงานที่เหมาะสม
๒.๒ โครงสร้างขององค์กรต้องมีการกำหนดโครงสร้างเ
๒.๑ วัตถุประสงค์ขององค์กร
๓. การนำหรืออำนวยการ (Directing) การดำเนินการในองค์การจะประสบความสำเร็จ
๔. การควบคุมกำกับงาน (Controlling)
๔.๒ การพัฒนามาตรฐานในการปฏิบัติงานโดยการสร้างมาตรฐานก่อนปฏิบัติงาน
๔.๓ การวัดผลงานและเปรียบเทียบผลงานกับมาตรฐาน
๔.๑ การกำหนดเป้าหมายในการควบคุมกำกับงาน
๔.๔ การปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง
๑.๒ ระดับทุติยภูมิ (Secondary care level) และระดับตติยภูมิ (Tertiary care level)
การบริหารการพยาบาลในหน่วยบริการทุติยภูมิและตติยภูมิการบริหารการพยาบาลในสถานพยาบาลระดับทุติยภูมิและระดับตติยภูมิจะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันโดยเน้นการให้บริการในหอผู้ป่วย แต่มีความแตกต่างกันในด้านความซับซ้อนขององค์กรและจำนวนเจ้าหน้าที่ในองค์กรพยาบาลที่ระดับตติยภูมิจะมีมากกว่า
การบริหารหอผู้ป่วย
อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บริหารงานหอผู้ป่วยหัวหน้าหอผู้ป่วย
๔. เป็นผู้ประสานการรักษาพยาบาลปรึกษากับแพทย์ผู้รักษาประชุมปรึกษาเพื่อให้การรักษาพยาบาลมีประสิทธิภาพ
๕. เป็นผู้สนับสนุนประสิทธิภาพในการรักษาพยาบาลติดตามประเมินผล
๓.เป็นผู้นิเทศส่งเสริมความสามารถและการปฏิบัติการพยาบาลให้ดียิ่งขึ้น
๖. เป็นผู้พัฒนาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงงาน
๒. วางแผนการปฏิบัติงานควบคุมกำกับวินิจฉัยสั่งการและตรวจสอบ
๗. เป็นผู้รับผิดชอบทุกอย่างในหน่วยงาน
๑. เป็นผู้บริหารดำเนินการงานด้านการพยาบาลให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโรงพยาบาลและฝ่ายการพยาบาล
การการจัดหอผู้ป่วย
ต้องอาศัยการจำแนกผู้รับบริการเป็นเกณฑ์เพื่อให้สามารถจัดบริการพยาบาลได้สะดวกรวดเร็วผู้ให้การพยาบาลสามารถดูแลผู้รับบริการได้ทั่วถึงและทันท่วงที
หลักการจัดหอผู้ป่วย
๒. ความปลอดภัย (Safety)
๓. การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ (Infection Control)
๑. ความเป็นสัดส่วน (Privacy)
๔. ควบคุมเสียง (noise Control)
หลักการจัดระบบงานเพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมาย
๑. กำหนดวัตถุประสงค์การบริการผู้ป่วย
๒. กำหนดขอบเขตความรับผิดชอบ
๓. กำหนดอัตรากำลังและประเภทของเจ้าหน้าที่
๔. กำหนดหน้าที่รับผิดชอบและลักษณะงาน
๕. กำหนดการติดต่อสื่อสาร
๖. จัดทำคู่มือปฏิบัติการพยาบาล
๗. การวางแผนให้การพยาบาล
๘. นโยบายด้านบุคลากร
๙. จัดหาเครื่องมือเครื่องใช้
๑๐. การบันทึกการรายงาน
๑๑. การเสริมความรู้ด้านวิชาการ
๑๒. มีการติดต่อประสานงานกับทีมสุขภาพทุกสาขาที่เกี่ยวข้อง
๑๓. มีการประเมินผล
การจัดอัตรากำลังทางการพยาบาล (Nursing Staffing)
การจัดบุคลากรเกี่ยวข้องกับเรื่องต่าง ๆต่อไปนี้
๔. การคัดเลือกบุคลากร
๕. การจัดเวลาการปฏิบัติงานตามที่บุคลากรต้องการ
๓. การคำนวณหาจำนวนบุคลากรแต่ละประเภทการสรรหาบุคลากร
๖. การมอบหมายงานและความรับผิดชอบในการดูแลผู้ป่วย
๒. การตัดสินเลือกประเภทของบุคลากรที่จะสามารถให้การพยาบาลตามที่ต้องการ
๑. การพิจารณาประเภทและจำนวนของการพยาบาล
การวางแผนจัดบุคลากรด้านการพยาบาล ปัจจัยสำคัญ ๒ ประการคือ
๑. ปัจจัยด้านของเครื่องใช้ (Material Resources)
๒. ปัจจัยด้านบุคลากร (Manpower Resources)
วัตถุประสงค์ของการจัดอัตรากำลัง
๒. เพื่อจัดให้มีสัดส่วนการผสมผสานการจัดอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลแต่ละระดับ / ประเภทอย่างเหมาะสมในการให้บริการที่มีคุณภาพ
๓. เพื่อออกแบบหรือรูปแบบการจัดตารางเวลาการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการพยาบาลให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมกับองค์การ
๑. เพื่อกำหนดปริมาณอัตรากำลังให้มีบุคลากรทางการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยและให้บริการพยาบาลอย่างเพียงพอเหมาะสมและสมดุลกับปริมาณภาระงานในแต่ละช่วงเวลาตลอด ๒๔ ชั่วโมง
กระบวนการจัดอัตรากำลังทางการพยาบาล (Staffing Process)
๒. การจัดตารางการปฏิบัติงาน (Scheduling)
การจัดแบบรวมการ (Centralized Scheduling)
การจัดแบบแยกการ (Decentralized Scheduling)
๓.การกระจายอัตรากำลัง (Staffing allocation)
๑. การวางแผนอัตรากำลัง (Staffing planning)
คาดคะเนความต้องการการพยาบาลของผู้ป่วย (The Nursing Care Needs of Patients)
จำนวนเฉลี่ยผู้ป่วยต่อวัน (ADC: Average daily census)
การแบ่งประเภทผู้ป่วย (Patient Classification Systems)
จำนวนวันที่ผู้ป่วยนอนโรงพยาบาลในโรงพยาบาลหรือจำนวนวันนอน (Patient Days)
การนิเทศงานการพยาบาล
ลักษณะการนิเทศการพยาบาล
๑.ลักษณะการนิเทศที่เน้นพฤติกรรมผู้นิเทศ
๑.๑ การนิเทศแบบอัตตาธิปไตย (traditional autocratic form)
๑.๒ การนิเทศแบบประชาธิปไตย (democratic form)
๒. ลักษณะการนิเทศที่เน้นจุดประสงค์การนิเทศ
๒.๑ การนิเทศที่มุ่งผลผลิต (Production-centered)
๒.๒ การนิเทศที่มุ่งตัวบุคคล (person-centered)
วิธีการนิเทศมี ๒ วิธีคือ
๑. การนิเทศใกล้ชิด (close supervision) เป็นการติดตามตรวจตราดูแลการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิดผู้ปฏิบัติจะอยู่ในสายตาเสมอเหมาะสำหรับการนิเทศบุคลากรที่เพิ่งจบการศึกษาใหม่
๒. การนิเทศอิสระ (general supervision) เป็นการนิเทศที่ใช้วิธีสังเกตอยู่ห่าง ๆ ให้อิสระแก่ผู้ปฏิบัติได้ใช้ความคิดความสามารถของตนเองได้อย่างเต็มที่ผู้
องค์ประกอบของผู้นิเทศ
๒. ความสามารถด้านวิชาการผู้นิเทศการพยาบาลต้องมีความรู้ความเข้าใจคิดหลักการและทฤษฎีต่าง ๆ ที่
๓. ความสามารถด้านการสอนแนะนำและให้คำปรึกษาเป็นการช่วยเหลือผู้ที่รับการนิเทศได้เกิดความรู้ความเข้าใจงาน
๑. ความสามารถด้านเทคนิคหมายถึงความสามารถในการใช้ เทคนิคการปฏิบัติการพยาบาลการใช้เครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาลอย่างคล่องตัว
๔. ความสามารถด้านมนุษย์คือความสามารถในการเข้าใจคนรู้ว่าจะทำงานร่วมกับคนอื่นอย่างไรและเข้าใจหลักการหรือทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมต่างๆของมนุษย์
๕. ความสามารถด้านบริหารงาน ได้แก่ ความสามารถในการวางแผนจัดการและสั่งการให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาทำงานให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายของหน่วยงาน
หลักการนิเทศ
๒. หลักจิตวิทยาการนิเทศการนิเทศเป็นการกระทำโดยตรงหรือเกี่ยวข้องโดยตรงกับคนซึ่งแต่ละคนย่อมมีความแตกต่างกันทั้งด้านร่างกายอารมณ์สังคม
๓. หลักการเป็นผู้นำหมายถึงการใช้ความรู้ความสามารถและการปฏิบัติงานที่เป็นระบบเป็นการนำงานไปสู่เป้าหมายที่ต้องการ
๑. หลักปรัชญาการนิเทศเป็นการนำหลักวิทยาศาสตร์มาใช้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล
๔. หลักการมนุษยสัมพันธ์ผู้นิเทศจะต้องใช้มนุษยสัมพันธ์อย่างสูงเพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจและยอมรับในบทบาทภารกิจของกันและกัน
๕. หลักการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
กิจกรรมการนิเทศทางการพยาบาล
๒. นิเทศบุคลากรทางการพยาบาลเป็นการนิเทศเกี่ยวกับตัวเจ้าหน้าที่ในด้านบุคลิกภาพความเป็นผู้นำการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
๓. นิเทศสภาพแวดล้อมทางการบริหาร ได้แก่ การจัดอัตรากำลังการมองหมายงานการจัดหอผู้ป่วย
๑. นิเทศการปฏิบัติการพยาบาล ได้แก่ เทคนิคบริการระบบงานความสุขสบายและความปลอดภัยตลอดจนการจัดบริการพยาบาล
ระบบการดูแลผู้ป่วย
๒. ระบบการทำงานเป็นหน้าที่ (functional nursing)
๓. ระบบการพยาบาลเป็นทีม (team nursing)
๑. ระบบการดูแลเป็นรายบุคคล (case method or total patient care)
๔. ระบบการพยาบาลแบบเจ้าของไข้ (primary nursing)
๕. ระบบการจัดการด้านผู้ป่วย (Case Management)