Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท, นางสาวไอรดา รักคำ ห้อง 2A เลขที่ 102…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
ความไม่รู้สึกตัว
เป็นภาวะการทำงานของสมอง ที่ไม่มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ระดับของความรู้สึกตัว
ระดับความรู้สึกตัวดี (Full consciousness)
ผู้ป่วยจะตื่นและรู้สึกตัวดี แสดงพฤติกรรมเหมาะสมกับวัย
ความรู้สึกสับสน(confusion)
ผู้ป่วยมีความผิดปกติเกี่ยวกับการตัดสินใจ
การรับรู้ผิดปกติ(disorientation)
ผู้ป่วยไม่รับรู้ต่อเวลา บุคคล และสถานที่ ระดับความรู้สึกตัวเริ่มลดลง
ระดับความรู้สึกง่วงงุน(lethargy/drowsy)
ผู้ป่วยสามารถเคลื่อนไหวได้เล็กน้อย มีอาการง่วงงุน พูดช้า ต้องกระตุ้นด้วยสิ่งเร้าถึงจะสามารถตอบโต้ได้ปกติ
ระดับความรู้สึก stupor
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว หลับลึก แต่ยังสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่รุนแรงและกระตุ้นซ้ำๆกันหลายครั้งได้
ระดับหมดสติ(coma)
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ไม่สามารถตอบสนองได้
การควบคุมการเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการสำคัญ
ชักเกร็ง
ซึม
ไม่ดูดนม
แบ่งออกเป็น 3 กรณี
กรณีที่ 1 ไม่มีไข้
ความผิดปกติของสมองที่เกิดจากการได้รับบาดเจ็บ เนื้องอกในสมอง โรคลมชัก
กรณีที่ 2 มีไข้
ความผิดปกติที่สมองที่เกิดจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมอง สมองและไขสันหลัง
กรณีที่ 3 มีไข้สูง เกิน 38 องศาเซลลเซียส
อายุประมาณ 6 เดือน - 5 ปี ไม่มีการติดเชื้อของระบบประสาท
ภาวะชักจากไข้สูง(Febrile convulsion)
อาการชักที่สัมพันธ์กับกาารมีไข้ โดยไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อของระบบประสาท
สาเหตุ : ติดเชื้อในระบบต่างๆที่ไม่ใช่ระบบประสาท
อาการ : จะมีอาการชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส
อาการชักเกิดขึ้นภายใน 24 ชม.แรกเมื่อเริ่มมีไข้
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple febrile seizure (primary febrile seizure)
Complex febrile seizure
โรคลมชัก(Epilepsy)
สาเหตุ :
ทราบสาเหตุ
ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง อันตรายระหว่างคลอดหรือหลังคลอด ความผิดปกติของสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย น้ำตาลในเลือดต่ำ ความผิดปกติของพัฒนาการทางสมอง โรคทางพันธุกรรม
ไม่ทราบสาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของยีน
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้
มีพยาธิภายในสมอง
อาการที่แสดง
Preictal peroid
ระยะเวลาก่อนอาการชัก
อาการนำ (Seizure Prodromes)
อาการบางอย่างที่นำมาก่อนมีอาการชัก
อาการเตือน (Aura)
อาการแตกต่างกันตามตำแหน่งของสมอง เช่น ปวด ชา เห็นภาพหลอน
Ictal even หรือ Prei-ictal peroid
ระยะเวลาที่เกิดอาการชัก
เกิดขึ้นทันทีทันใดในระยะเวลาสั้นๆ ไม่เกิน 5 นาทีและหยุดเอง
Postictal peroid
ระยะเวลาเมื่อการชักสิ้นสุดลง มีอาการ ได้แก่ สับสน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ
Postical paralysis หรือ Todd's paralysis
กล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉพาะที่
Automatism
การเคลื่อนไหวร่างกายขณะชัก เช่น เคี้ยวปาก กระพริบตาถี่ๆ ตีมือคว่ำหงายสลับกัน
Interictal peroid
ช่วงเวลาระหว่างการชัก เริ่มตั้งแต่ระยะเวลาหลังการชักหนึ่งสิ้นสุดลงไปจนถึงการเริ่ชักครั้งใหม่
ชนิดของโรคลมชัก
ชนิดอาการชักเฉพาะที่
(Partial / Focal seizure)
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ (Simple partial seizures / Simple focal seizures)
อาการชักเแพาะที่แบบขาดสติ (Complex partial seizures / Complex focal seizure)
อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว (Focal with secondarily generalized seizures)
ชนิดอาการชักทั้งตัว
(Generalizaed seizures)
อาการชักเหม่อ (Absence)
อาการเกร็งกระตุก (Tonic clonic seizures)
อาการชักกระตุก (Clonic seizures)
อาการชักเกร็ง (Tonic seizures)
อาการชักตัวอ่อน (Atonic seizures)
อาการชักสะดุ้ง (Myoclonic seizures)
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การอักเสบเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมองชั้นในสุดและอแรคนอยด์ที่อยู่รอบๆสมองและไขสันหลังและเยื่อหุ้มสมองถูกทำลาย
ส่วนมากพบในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี
เกิดจากแบคทีเรีย 3 ตัว คือ Haemophilus influenzae , Neisseria meningitidis , Steptococcus peumoniae
อาการที่แสดง คือ มัไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติ มีอาการคอแข็ง
โรคไข้กาฬหลังแอ่น
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides
อาการที่แสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ำเลือดขึ้นตามผิวหนังร่วมด้วย
Meningococcemia
Fulminant Meningoccemia
ระบบไหลเวียนเลือดไม่ทำงาน อาจช็อคถึงเสียชีวิตได้ในเวลาไม่นานหลังจากเริ่มมีอาการ ส่วนมากเริ่มมีอาการไข้สูงทันทีอ่อนเพลียมาก แล้วเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว เนื่องจากหลอดเลือดตีบทั่วร่างกาย
Chonic Meningoccemia
ส่วนใหญ่มีไข้ เป็นๆหายๆ ผื่นตามผิวหนัง
Meningitis
มีอาการไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ซึมและสับสน อาการจะแย่ลงอย่างรวดเร็ว
ความดันในช่องสมองผิดปกติ
ภาวะน้ำคั่งในกะโหลกศีรษะ
อาการ :
ศีรษาโตตั้งแต่กำเนิด กระหม่อมหน้าโปร่ง ปวดศีรษาะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียน
การรักษา :
การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยการผ่าตัด
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการ :
มีก้อนที่หลัง หรือ ที่หน้าผาก ขาอ่อนแรงทั้งสองข้าง ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา
มีไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
Spina Bifida
ความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลังออกมาตามตำปหน่งที่บกพร่องนั้น พบบ่อยที่สุดที่บริเวณ Lumbosacrum
ชนิดของ Spina Bifida
Spina bifida occulta
ความผิดปกติกระดูกสันหลังส่วน Vetebral arches ไม่รวมตัวกัน เกิดเป็นช่องโหว่ระหว่างแนวกระดูกสันหลัง
Spina bifida cytica
ความผิดปกติของของารปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง ทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง หรือเยื่อหุ้มสมองผ่านกระดูกออกมาให้เห็นเป็นถุงหรือก้อน มี 2 ชนิด
Meningocele
Myelomeningocele
ความบกพร่องของสติปัญญา
อาการสำคัญ
ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจไม่มีประสิทธิภาพ การดูดกลืนบกพร่อง เลี้ยงไม่โต ข้อติดแข็ง พัฒนาการล่าช้า
สมองพิการ (CP : Cerebral palsy)
ความบกพร่องของสมอง ทำให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว การทรงตัว
ชนิดของสมองพิการ
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
Splastic quadripllegia
มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2 ข้าง
Splastic diplegia
มีความผิดปกติที่กล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2 ข้าง ขาเป็นมากกว่าแขน
Splastic hemiplegia
ผิดปกติที่แขนขาซีกใดซีกหนึ่ง
Extrapyramidol cerebral palsy (athetoidsis)
การเคล่อนไหวผิดปกติขณะตื่น บังคับส่วนต่างๆของร่างกายให้ไปในทิศทางที่ต้องการไม่ได้
Ataxia cerebral palsy
เดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื้อตึงตัวน้อย ทรงตัวได้ไม่ดี สติปัญญาปกติ
Mixed type
อาการที่แสดง
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า
ปัญญาอ่อน
อาการอื่นๆ เช่น ชัก หูหนวก ตาบอด
นางสาวไอรดา รักคำ ห้อง 2A เลขที่ 102 รหัสนักศึกษา 613601108