Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดหลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัย, แนวคิด - Coggle…
แนวคิดหลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินและสาธารณภัย
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
AAM
scoop and run การนำผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลให้เร็วที่สุด
ให้บริการทีมเวชกิจฉุกเฉิน โดยมีแพทย์กำกับ
ลำเลียงผู้ป่วยส่งตรงไปยังห้องฉุกเฉิน
ใช้ รถ Ambulance ในการเคลื่อนย้าย
องค์กรที่เกี่ยวข้อง เช่น ตำรวจ สถานีดับเพลิง
ค่าใช้จ่ายสูงกว่า FGM
ได้รับการนำส่งไปรักษาที่โรงพยาบาล
FGM
Stay and stabilize นำการรักษาไปหาผู้ป่วย
แพทย์ให้การรักษาโดยมีทีมเวชกิจฉุกเฉินช่วย
ลำเลียงผู้ป่วยส่งเฉพาะทาง
ใช้ รถ Ambulance ในการเคลื่อนย้าย
ค่าใช้จ่ายตต่ำกว่า AAM
ได้รับการรักษาในสถานที่เกิดเหตุ
ความหมาย
อุบัติเหตุ
การเกิดอุบัติการณ์อย่างกะทันหัน ทำให้เกิดการบากเจ็บ สูญเสียโดยที่เราไม่ต้องการ
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยอย่างกะทันหัน ต้องดูแลรักษาทันที
การเจ็บป่วยวิกฤต
Critical care
ผู้ป่วยที่มีอาการหนัก รุนแรง รักษามุ่งเน้นแก้ไขอาการที่ปรากฎในครั้งแรก เพื่อป้องกันไม่ให้เข้าสู่ Crisis
Crisis care
ผู้ป่วยสภาวะคับขัน ทำให้อาการดีขึ้นหรือตายทันที รักษาโดยการมุ่งเน้นแก้ไขอาการที่ปรากฎอันตราย
ลักษณะทางคลินิก
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หยุดหายใจ หายใจช้ากว่า10ครั้งต่อนาที หรือเร็วกว่า30ครั้งต่อนาที
คลำชีพจรไม่ได้
ความดันโลหิต Systolic ต่ำกว่า 80 มม.ปรอท หรือ Diastolic สูงกว่า 130 มม.ปรอท
ตกเลือด มือเท้าเย็น ซีด
ไม่รู้สึกตัว ชัก หมดสติ
อุณหภูมิของร่างกายต่ำกว่า 35 เซลเซียส หรือสูงกว่า 40 เซลเซียส
ผู้ป่วยวิกฤต
อัตราตายสูง เช่น Septic Shock
อาการรุนแรง เช่น Myocardialin farction
อัตราตายสูงแม้จะได้รับการรักษา เช่น มะเร็งระยะสุดท้าย
สามารถรักษาได้ เช่น หมดสติ
ผู้บาดเจ็บจากสาธารณภัย
อาการหนัก เช่น ผู้ป่วยที่โดนหาม นอน หรือนั่งมารับการรักษา
อาการหนักมาก เช่น ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการรักษาโดยด่วน
อาการไม่รุนแรง เช่น ผู้ป่วยที่เดินได้
หลักในการพยาบาล
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างถูกต้อง
ซักประวัติอย่างละเอียดและรวดเร็ว
คัดกรองอย่างรวดเร็ว
รักษาภายใต้นโยบายของโรงพยาบาล
ช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกต้อง
ดูแลจิตใจของผู้ป่วยและญาติ
นัดหมายและมีการส่งต่อเพื่อการรักษาที่ต่อเนื่อง
การพยาบาลสาธารณภัย
อุบัติภัย
Mass casualties ผู้ป่วยมีโอกาสรอดชีวิต และใช้เวลาและทรัพยากรน้อยที่สุด
Multiple casualties ผู้ป่วยที่มีการคุกคามต่อชีวิตได้รับการรักษาก่อน
ความรู้สาธารณภัย / ภัยพิบัติ
ภัย
เหตุการณ์ที่ทำให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ทรัพย์สิน
สาธารณภัย / ภัยพิบัติ
ภัยที่เกิดจากธรรมชาติหรือจากการกระทำของมนุษย์แล้วก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต
ระดับความรุนแรง
ความรุนแรงขนาดใหญ่ ต้องอาศัยหลายหน่วยงานราชการในเขตจังหวัด จังหวัดใกล้เคียง
ความรุนแรงขนาดใหญ่ที่รุนแรง ต้องอาศัยนายกรัฐมนตรีมอบหมายให้เป็นผู้ควบคุมสถานการณ์
ความรุนแรงขนาดกลาง ต้องอาศัยสาธารณสุขระดับจังหวัด
ความรุนแรงขนาดเล็ก สาธารณสุขระดับอำเภอ
การบริหารจัดการสาธารณภัย
D : ประเมินสถานการณ์
I : ดูภาพรวมของเหตุการณ์
S : ประเมินความปลอดภัย
A : ประเมินสถานการณ์ที่เกิดเหตุ
E : อพยพผู้บาดเจ็บออกจากเหตุการณ์
S : เตรียมอุกรณ์ที่จำเป็น
R : ฟื้นฟูสภาพหลังจากเกิดเหตุการณ์
T : คัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วน
ระบบทางด่วน
บทบาทพยาบาล
ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง
จัดการดูแลขณะส่ง
ดูแลรักษาตามแผนการรักษา
รายงานแพทย์ผู้รักษา
ติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
ประเมินเบื้องต้น
ช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติ
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ
ระบบการดูแลผู้บาดเจ็บ
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น Access
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล prehospital care
การดูแลในระยะที่อยู่โรงพยาบาล hospital care
การฟื้นฟูสภาพและการส่งต่อ
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น
ประเมินผู้บาดเจ็บที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น
Breathing and ventilation
การช่วยหายใจและการระบายอากาศเพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนอากาศ
Airway maintenance with cervical spine protection
การประเมิน Airway เพื่อหาอาการที่เกิดจากการอุดกั้นทางเดินหายใจ
Circulation and Hemorrhage control
ระบบประสาท
ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
ซึม เชื่องช้า สับสน
ผิวหนัง
ผิวหนังเย็น ชื้น เหงื่อออกมาก
หัวใจและหลอดเลือด
ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ 1 นาทีลดลง
ชีพจร เบาเร็ว
capillary filling time นานกว่า 1-2 วินาที
ระบบหายใจ
หายใจเร็วและไม่สม่ำเสมอ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะลดลง
ระบบทางเดินอาหาร
กระหายนำ้ นำ้ลายน้อยลง ท้องอืด คลื่นไส้ อาเจียน ลำไส้บวม
การช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ป่วยพ้นภาวะวิกฤต
Rreathing ควรได้รับออกวิเจนเสรมหากไม่ได้ใส่ท่อช่วยหายใจ
Airway การทำ Definitive airway หลังจากการประเมิน
Circulation การห้ามเลือดร่วมกับการให้สารนำ้ทดแทน
การประเมินหรือการตรวจร่างกายอย่างละเอียด
การตรวจร่างกาย
การซักประวัติ
การตรวจพิเศษ
การรักษาหลังจากได้รับการวินิจฉัย
แนวคิด