Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
บทบาทของพยาบาลในการดูแลเด็กที่มีความผิดปกติของระบบประสาท
ประเมินสัญญาณชีพ
การะประเมินทางระบบประสาท ได้แก่ ระดับความรู้สึกตัว สื่อสารทางคำพูด การเคลื่อนไหวการทรงตัว การลืมตาและรูม่านตา
การตรวจไขสันหลัง การตรวจคลื่นสมองMRI
การดูแลเด็กที่มีความผิดปกติทางระบบประสาท
ให้คำแนะนำบิดามาดาของผู้ป่วยเด็กโรคระบบประสาท
ความไม่รู้สึกตัว
เป็นภาวะการทำงานของสมองที่ไม่มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า แม้ว่าสิ่งเร้านั้นจะรุนแรงหรือก่อให้เกิดความเจ็บปวดก็ตาม
ท่าทางของเด็กในภาวะไม่รู้สึกตัว
Decorticate posturing
Decerebrate posturing
ปฏิกิริยาสะท้อนกลับ(Reflexes)
ในช่วงหมดสติระดับลึก จะพบว่าReflexesต่างๆของเด็กหายไป
ระดับความรู้สึกตัว
ระดับความรู้สึกตัวดี ผู้ป่วยจะตื่นตัว รับรู้ต่อเวลา บุคคล สถานที่ เป็นปกติ พฤติกรรมที่แสดงออกเหมาะสมกับวัยเด็ก
ความรู้สึกสับสน มีความผิดปกติในการตัดสินใจ
การรับรู้ผิดปกติ ไม่รับรู้ต่อเวลา บุคคล สถานที่ ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ระดับความรู้สึกง่วง เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย มีอาการง่วง พูดช้า กระตุ้นด้วยสิ่งเร้าแล้วผู้ป่วยไม่สามารถโต้ตอบได้ เรียกว่า obtundation
ระดับความรู้สึก stupor ไม่รู้สึกตัว หลับลึก แต่ยังสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ระดับหมดสติ ไม่รู้สึกตัว ไม่สามารถตอบสนองทั้งด้านการคลื่อนไหวหรือวาจา เช่น สิ่งที่กระตุ้นก่อให้เกิดความเจ็บปวด
Glasgow Coma Scale ในเด็ก
การสนองตอบด้วยการลืมตา (Eye opening : E)
การตอบสนองการพูด (Verbral response : V)
การตอบสนองด้วยการเคลื่อนไหว (Motor response : M)
ภาวะชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้ำ
อายุ โดยเฉพาะเด็กที่มีอาการชักครั้งแรกในช่วงอายุก่อน 1 เดือน
มีความผิดปกติของระบบประสาทก่อนมีอาการชัก
ประวัติการชักของสมาชิกครอบครัว
ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อ
สาเหตุ
ติดเชื้อระบบทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ ทางเดินหายใจ
อาการ
จะมีอาการชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศา อาการชักเกิดขึ้นภายใน 24ชม.แรกที่เริ่มมีไข้ มักเกิดในเด็กอายุ 3 เดือน ถึง 5 ปี พบมากในช่วงอายุ 17-24 เดือน
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple febrile seizure
มีไข้ร่วมกับชักในเด็กอายุ 6เดือน-5ปี
การชักเป็นแบบทั้งตัว
ระยะเวลาการชักไม่เกิน 15 นาที
ไม่มีการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
ก่อน-หลัง ไม่มีอาการทางระบบประสาท
Complex febrile seizure
การชักเฉพาะที่หรือทั้งตัว
ระยะเวลาการชักนานกว่า15นาที
เกิดการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
หลังชักมีอาการทางระบบประสาท
เด็กที่ชักชนิด Complex มีอัตราเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคลมชัก แพทย์ให้ยาป้องกันการชัก เช่น Phenobarbital หรือ Valproic acid
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษอื่นๆ
โรคลมชัก (Epilepsy)
ภาวะทางระบบประสาทที่ให้เกิดอาการชักซ้ำๆอย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป และอาการชักครั้งที่ 2 ห่างจากกันมากกว่า 24 ชั่วโมง
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ
ติดเชื้อระบบส่วนกลาง ภยันตรายระหว่างการคลอดหรือหลังคลอด ความผิดปกติของสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย น้ำตาลในเบือดต่ำ หลอดเลืดสมอง โรคทางพันธุกรรม
ไม่ทราบสาเหตุ เกิดจากความผิดปกติของยีน
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้ มีพยาธิสภาพในสมอง
อาการและอาการแสดง
Preictal period ระยะก่อนชัก
อาการนำ
อาการเตือน
Ictal event ระยะที่เกิดอาการชักมีระยะเวลาตั้งแต่วินาที จนถึงวินาที มักจะไม่นานเกินครึ่งชั่วโมง
Postical peroid ระยะเวลาเมื่อการชักสิ้นสุด
Postical paralysis
Automatism
Interictal peroid
ชนิดของโรคลมชักและกลุ่มอาการชัก
อาการชักเฉพาะที่
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ
อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสติ
อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว
อาการชักทั้งตัว
อาการชักเหม่อ
อาการเกร็งกระตุก
อาการชักกระตุก
อาการชักเกร็ง
อาการชักตัวอ่อน
อาการชักสะดุ้ง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ(Meningitis)
อาการและอาการแสดง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
มีอาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลง คอแข็ง ตรวจพบ Kernig sign และ Brudzinski sing ให้ผลบวก
การตรวจน้ำไขสันหลัง
CSF ไม่มีสี ความดันระหว่าง 75-180มม.น้ำ
ไม่มีเม็ดเลือดแดงหรือขาว
โปรตีน 15-45 mg/100ml
กลูโคส 50-75 mg/100 ml
คลอไรด์ 700-750 mg/100 m
ชนิดของเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
เฉียบพลันจากแบคทีเรีย
เฉียบพลันจากไวรัส
วัณโรค
โรคไข้กาฬหลังแอ่น
เชื้อสาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ กลมคล้ายเม็ดถั่ว
ระยะติดต่อ
ผู้ที่สามารถแพร่เชื้อได้คือผู้ที่ไม่มีอาการ(พาหะ) และผู้ป่วยสามารถแพร่เชื้อได้จนกว่าจะตรวจไม่พบเชื้อในน้ำมูก น้ำลาย
วิธีการติดต่อ
ติดต่อจากคนสู่คน มีระยะฟัก2-10วัน
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะ อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ำเลือด ขึ้นตามผิวหนัง อาจเกิดภาวะช็อค อาการสำคัญ คือ Meningococermia , Meningitis
การรักษา
Glucocorticoid therapy ก่อนให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
ปฏิชีวนะ
การรักษาแบบประคับประคอง
การป้องกันและการควบคุม
บุคคลที่อยู่ร่วมกับผู้ป่วยในบ้านเดียวกัน สัมผัสใกล้ชิดต้องได้รับยาป้องกัน Rifampicin Ceftiaxone ciproxacin
ให้ความรู้การป้องกันโรคแก่ประชาชน
ใช้วัคซีนป้องกันโรค
ยา Penicilin , chloramphenical
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
โรคอุทกเศียร : น้ำไขสันหลังคั่งในโพรงสมอง
อาการ
ศีรษะโตแต่กำเนิด กระหม่อมหน้าโปร่ง ศีรษะโตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับทรวงอก
อาการแสดงทางคลินิก
หัวบาตร
หัวโตกว่าปกติ
รอยต่อกะโหลกศีรษะแยกออกจากกัน
รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง
หนังศีรษะบางและเห็นเส้นเลือดดำ
ตาเขเข้าในมองไปด้านข้างไม่ได้
อาการแสดงของความดันในกระโหลกศรีษะสูง
ตากลอกลงล่าง กลอกขึ้นบนไม่ได้
เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก
การรักษา
การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำโพรงสมองออกนอกร่างกาย
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
โรคแทรกซ้อน
การทำงานผิดปกติของสายน้ำระบายน้ำในโพรงสมอง มีการอุดตันหรือระบายมากเกินไป
การติดเชื้อของสายน้ำระบายน้ำในโพรงสมอง
การอุดตันสายระบายน้ำในโพรงสมอง
ภาวะระบายน้ำในโพรงสมองมากเกินไป
โพรงสมองตีบแคบ
เลือดออกในศีรษะ
ไตอักเสบ
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญ
มีก้อนที่หลังหรือหน้าผาก ขาอ่อนแรงทั้ง2ข้าง ปัสสาวะ อุจจาระตลอดเวลา
ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
Spina Bifida
เป็นความบกพร่องของกระดูกสันหลัง พบบ่อยสุดที่บริเวณ lumbosacrum
Spina Bifida occulta
Spina Bifida cystica
Meningocele
Myelomeningocele
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย แขนขาอ่อนแรง พบก้อนตามแนวกระดูกสันหลัง
การตรวจระดับ alpha fetoprotein ขณะตั้งครรภ์
การรักษา
Spina Bifida occulta ไม่จำเป็นต้องรักษา
Spina Bifida cystica ต้องผ่าตัดใน24-48 ชัวโมงภายหลังเกิด เพื่อลดการติดเชื้อ
การป้องกัน
ให้กรดโฟลิคแก่หญิงตั้งครรภ์จะช่วยลดการเกิดโรคได้
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
อาการสำคัญ
ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจไม่มีประสิทธิภาพ การดูดกลืนบกพร่อง เลี้ยงไม่โต ข้อติดแข็ง พัฒนาการช้า
มีประวัติ สมองขาดออกซิเจน นึกถึง Cerebral palsy
สมองพิการ (CP : cerebral palsy)
กล้ามเนื้อหดเกร็ง
Splastic quadriplegia
Splastic diplegia
Splastic hemiplegia
Extrapyramidol cerebral palsy
Ataxia cerebral palsy
Mixed type
อาการและอาการแสดง
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาช้า
ปัญญาอ่อน
ชัก หูหนวก ตาบอด
เป้าหมายการพยาบาลเด็กที่ไม่รู้สึกตัว
การทำทางเดินหายใจให้โล่ง
แรงดันภายในสมองต้องไม่เพิ่มขึ้น
ได้รับการดูแลขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพ
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการไม่สามารถเคลื่อนไหวได้
ครอบครัวผู้ป่วยเด็กได้รับความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับการเจ็บป่วย
คำแนะนำในการับประทานยากันชัก
รับประทานอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องตามเวลา ห้ามหยุด/เพิ่ม/ลดยาเอง
เมื่อไม่สบายไม่ควรซื้อยารับประทานยาเอง