Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 - Coggle Diagram
บทที่ 8
โรคเก๊าท์
โภชนาการกับโรคเก๊าท์
อาหารที่ควรงด
งดเครื่องดื่มที่มีเเอลกอฮอล์เด็ดขาด
งด/หลีกเลี่ยงอาหารที่มีพิวรีนสูง
ส่วนยอดผักต้นอ่อนของผัก
เครื่องในสัตว์/สัตว์ปีกต่างๆ
อาหารหมักที่ใช้ยีสต์เป็นตัวเร่ง หรือ ส่วนประกอบ
เมล็ดพืชทุกชนิดที่งอกได้ แม้จะทำให้สุกแล้วก็ตาม
แนวทางการรับประทานอาหาร
รับประทานผักผลไม้ให้มาก โดยรับประทานผักที่โตเต็มวัย
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
ดื่มน้ำสะอาดมากๆอย่างน้อยวันละ 3 ลิตร
รับประทานเต้าหู้เป็นประจำ
ไม่ควรรับประทานอาหารมันมาก
โรคเอดส์
โภชนาการกับโรคเอดส์
สาเหตุที่ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อย
อาการเบื่ออาหาร
การมีแผลในปากหรือลำคอ
อาการท้องเสีย
การติดเชื้อ ทำให้ร่างกายเผาผลาญพลังงานได้มากขึ้น
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา
ไม่สามารถจัดหาอาหารได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
แอลกอฮอล์
ทำให้ร่างกายฟื้นจากการติดเชื้อได้ยากขึ้น
มีผลทำลายตับเเละก่อภาวะตับอักเสบ
ส่งผลต่อการดูดซึมยาต้านไวรัสเอดส์บางชนิด
ควรเลิกบุหรี่ เพราะทำให้เบื่ออาหาร
โภชนาการสำหรับผู้ป่วยที่รับประทานยาต้านไวรัสเอดส์
ควรลดอาหารกลุ่มไขมัน โดยเฉพาะไขมันอิ่มตัว
เน้นการทานผักผลไม้ ประมาณ 5 ส่วนต่อวันร่วมกับการออกกำลังกาย
น้ำ
ผู้ป่วยควรดื่มน้ำประมาณ 2 ลิตรต่อวัน
การดูแลด้านอาหารสำหรับผู้ที่ติดเชื้อ HIV
หลีกเลี่ยงอาหารดิบ
หลีกเลี่ยงโยเกิร์ต/อาหารเสริมที่ประกอบด้วยเชื้อจุลินทรย์ที่ยังมีชีวิตอยู่
อาหารที่สุกแล้วตั้งทิ้งไว้นานควรนำมาอุ่นใหม่ก่อนทาน
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีเชื้อราเเม้เพียงเล็กน้อยก็ตาม
ล้างผักและล้างผลไม้ให้สะอาดก่อนทาน
จัดเก็บอาหารสดกับอาหารที่สุกแล้วออกจากกันเป็นสัดส่วน
อาหารที่ปรุงเสร็จแล้วหากเก็บในตู้เย็นเพื่อรับประทานไม่ควรเก็บเกิน 2 วัน
ผู้ป่วยที่ระดับ CD4 ต่ำกว่า 200 cell/mm3 ควรดื่มน้ำที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้ว
ล้างมือให้สะอาดทุกครั้งก่อนและหลังรับประทานอาหาร
อาหารที่ควรรับประทาน
อาหารที่ย่อยง่ายและให้พลังงงานสูง
อาหารที่มีวิตามินและสารต่อต้านอนุมูลอิสระสูง
อาหารที่ใหม่ สด ปรุงสุก สะอาด
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
อาหารประเภทน้ำตาล อาหารรสจัด เครื่องปรุงรส
อาหารที่ทำให้เกิดเเก๊ส
อาหารประเภทเน้อสัตว์ดิบ
โรคมะเร็ง
โภชนาการกับโรคมะเร็ง
การเตรียมตัวด้านโภชนาการสำหรับการรักษามะเร็ง
การคิดแต่สิ่งที่ดีในเชิงบวกจิตใจดีจะช่วยรักษาได้ดีขึ้น
วางแผนในเรื่องอาหาร
การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพเเข็งเเรง
ปรุงอาหารในปริมาณที่พอเหมาะ
อาหารที่แนะนำในช่วงที่เข้ารับการรักษา
รักษาโดยการผ่าตัด
ระยะเเรก อาหารเหลวใส
ระยะที่2 อาหารที่ย่อยง่าย
ระยะที่3 อาหารธรรมดา
รักษาโดยการฉายรังสี
รับประทานครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้ง
รับประทานอาหารรสไม่จัด
รับประทานอาหารอ่อนๆ
กรณีที่น้ำลายเหนียว อาจเลือกอาหารที่มีส่วนประกอบของน้ำเพิ่มในเเต่ละมื้อ
รักษาด้วยเคมีบำบัด
การรับรสที่เปลี่ยนไป สามารถใช้สมุนไพร/มะนาวช่วยในการรับรส
ความอยากอาหารลดลง รับประทานอาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
ท้องผูก รับประทานอาหารที่มีกากใยสูง
ท้องเสีย หลีกเลี่ยงอาหารที่มีกากใยและไขมันสูง
แผลในปาก หลีกเลี่ยงอาหารรสจัดและมีฤทธิ์เป็นกรด
คลื่นไส้อาเจียน รับประทานอาหารครั้งน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง
เม็ดเลือดขาวต่ำ ควรเลือกอาหารที่มีเเบคทีเรียต่ำ
อาหารที่เหมาะสำหรับผู้ป่วยมะเร็ง
ประเภทข้าว-แป้ง
ประเภทไขมัน
ประเภทเนื้อสัตว์
ผักและผลไม้