Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะตกเลือดหลังคลอด - Coggle Diagram
ภาวะตกเลือดหลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอดระยะแรก
สาเหตุ
การหดรัดตัวของมดลูก
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
เจ็บคครรภ์คลอดนานหรือคลอดเร็วเกินไป
คลอดบุตรหลายครั้ง โดยเฉพาะ>5ครั้ง
ใช้ยาบางชนิด
oxytocin หลังทารกคลอดให้หยุดยา
ฮาโลเทน
คลอดยาก หรือใช้สูติศาสตร์หัตถการในการช่วยคลอด
เลือดออกก่อนคลอดจากภาวะรกเเกาะต่ำ หรือรกลอกตัวก่อนกำหนด
การติดเชื้อของมดลูก
มารดามีภาวะโลหิตจาง ทุพโภชนากร ความดันโลหิตสูง
การหดรัดตัวที่ไม่สม่ำเสมอของกล้ามเนื้อมดลูกบางชนิด
Constriction ring :
สาเหตุอื่นที่ขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
มีเศษรกค้าง
เนื้องอกในโพรงมดลูก
มีก้อนเลือด
เคยได้รับการผ่าตัดมดลูก
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
การตัดฝีเย็บที่ไม่ถูกวิธี
เชิงกรานไม่ได้สัดส่วนกับขนาดของทารก
การคลอดเร็วผิดปกติ
มดลูกบางกว่าปกติ
เคยผ่าตัดเนื้องอกมดลูก
เคยผ่าตัดคลอดทางหนาท้อง
ผ่านการตั้งครรภ์และการคลอดหลายครั้ง
แผลฉีกขาดที่เกิดที่มดลูก
การทำคลอดและช่วยคลอดที่ไม่ถูกต้อง การใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอดในขณะที่ปากมดลูกยังเปิดไม่หมด
รก หรือเศษรกค้างภายในมดลูก
การมีรกค้าง
การมีเศษรกค้าง
ความผิดปกติของรก
การมีรรกน้อย
การทำคลอดรกผิดวิธี
ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
ภาวะเลือดแข็งตัวผิดปกติ
โรคเลือดต่างๆ
การรักษา
1.การตกเลือดก่อนรกคลอด
ตรวจวัด BP HR RR
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ร่วมกับoxytocin 10-20unit
เจาะเลอดหาความเข้มข้นของเลือด พร้อมทั้งขอเลือดไว้อย่างน้อย 2 unit
ใส่สายสายปัสสาวะค้างไว้
ให้ยา oxcytocin 10-20 unit IM/IV เมื่อไหล่หน้าหรือศรีษะทารกคลอดแแล้ว
ทำคลอดรกโดยวิธี cord traction ถ้ารกไม่คลอดให้ล้วงรกภายใต้ยาระงับความรู้สึก Pethidine 50mg. IV
ตรวจรกที่คลอดแล้วอย่างละเอียด
คลึงมดลูกให้หดรัดตัวตลอดเวลา
ฉีด Methergin 0.2 mg.IV ถ้าจำเป็น ยกเว้นรายที่มีความดันโลหิตสูง
2.การตกเลือดหลังรกคลอด
2.1 มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
คลึงมดลูกให้หดรัดตัวตลอดเวลา
สวนปัสสาวะออกให้หมด
5%D/W,5%D/NSS,RLS 1000ml ผสมoxytocin10-20 unit
ฉีด Methergin 0.2 mg. IV
วางกระเป่าน้ำแข็งบริเวณหน้าท้อง
2.2 กรณีมีการฉีกขาดของช่องทางคลอด
ใช้เครื่องมือถ่างขยายช่องคลอดให้เห็นรอยฉีกขาด เย็บรอยฉีกขาดเหล่านั้นจนเลือดหยุดไหล
2.3 กรณีทำตามข้อ 2.1 และ 2.2 แล้วเลือดยังออกเรื่อยๆ ให้ตรวจภายในล้วงโพรงมดลูก ภายใต้การดมยาสลบ โดยงดเว้นฮาโลเทน
ถ้ามีเศษรกหีือก้อนเลือดค้างอยู่ ให้เอาออกให้หมด
ถ้ามดลูกมีรอยฉีกขาดหรือทะลุให้รีบผ่าตัดเปิดช่องท้องทันที
2.4 กรณีทำตามข้อ 2.1,2.2และ2.3 แล้วเลือดยังออกเรื่อยๆ ให้ทำการรักษาดังนี้
ตรวจเลือดหา Venus clotting tim,clot retraction time,clot lysis ถ้าVeenus clotting time เกิน 15 นาที หรือมี Clot lysis เกิดขึ้นภ่ยใน 1-2 ชม.
ให้พลาสมาสด
พลาสมาเเเช่เเข็ง
ทำ Bimanual compression บนตัวมดลูก ในขณะที่ยังให้ยาสลบ
กรณีตกเลือดหลังคลอดทันทีจากการหดรัดตัวของมดลูกไม่่ดี โดยพิจารณาฉีด prostaglandin
Prostaglandin E2 alpha 0.25 mg IM ทุก15-90 นาที ไม่เกิน 8 ครั้ง
Prostaglandin E2 analogue 0.5 mg IM ทุก 10-15 นาที ไม่เกิน 6 ครั้ง
หากทำตามข้อ 2.1 ถึง 2.4 แล้วยังมีเลือดออกอยู่เรื่อยๆ
้ถ้าอายุมาก หรือมีบุตรเพียงพอแล้ว ให้ตัดมดลูกออก
อายุน้อยและยังต้องการมีบุตรอีก ทำการผ่าตัดผูกหลอดเลือด internal iliac hypogastric
ดูแลหลังกิดการตกเลือดหลังคลอดอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะในระยะ 24-48ชม.แรกหลังคลอด
คำนวณ intake และ output
ให้ยาปฏิชีวนะประเภทครอบคลุมเชื้อได้กว้างขวาง
ตรวจhct
ให้ยาบำรุงเลือด และอาหารที่มีประโยชน์เพียงพอ
ตรวจHR BP PP และระดับความรู้สึกตัว
การวินิจฉัย
ตรวจดูชิ้นส่วนของรกที่อาจค้างอยู่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
PT
PTT
Clotting time
Platelet count
อาการและอาการแสดง
การมีเลือดออก
เกิดเลือดคั่งที่เอ็นยึดมดลูก
มดลูกปลิ้น
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
การฉกขาดของหลอดเลือดฝอย
มีเศษรกค้าง
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ผลของการตกเลือดหลังคลอด
ช็อค
ขาดออกวิเจน
ไตวาย
หัวใจวาย
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ภูมิต้านทานโรคต่ำ
ปริมาณน้ำนมมารดาไม่เพียงพอ
เซลล์ต่อมใต้สมองตาย
Shechan's syndromes
การป้องกัน
ระยะก่อนคลอด
ซักประวัติอย่างละเอียดเพื่อหาปัจจัยเสี่ยง
ตรวจร่างกายค้นหาภาวะโลหิตจาง
ระยะคลอด
ลูแลไม่ให้เกิดการคลอดยาวนาน
ระวังการให้ยาแก้ปวดในขนาดที่มากเกินไป
คำคลอดระยะที่2 และ 3 อย่างถูกต้องเหมาะสม
หลีกเลี่ยงการทำสูติศาสตร์หัตถการอย่างมาก
ตรวจรกและช่องทางคลอดอย่างละเอียด
ระยะหลังคลอด
ดูและให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ถ่ายปัสสาวะภายใน 2 ชม.หลังคลอด
กระตุ้นให้บุตรดูดนมมารดาทันทีหลังคลอด
รายที่ได้รับยากระตุ้นใ้เกิดการเจบครรภ์ อาจให้ oxytocin ต่อภายหลังการคลอดอย่างน้อย 2 ชม.
การตกเลือดหลังคลอดระยะหลัง
การรักษา
รายที่มีเศษรกค้าง หรือก้อนเลือดอยู่ในโพรงมดลูก ให้ oxytocin แล้วขูดมดลูกด้วยความระมัดระวัง
รายที่มีการติดเชื้อภายในโพรงมดลูก พิจารณาให้ยาช่วยการหดรัดตัวของมดลูก ร่วมกับยาปฏิชีวนะ
รายที่มีเลือดออกจากแผลภายในช่องคลอด ทำความสะอาดและเย็บแผลให้เลือดหยุด ถ้าเย็บแล้วเลือดไม่หยุด ต้องกดไว้ [หรือใช้ผ้าก๊อซอัดไว้ในช่องคลอดร่วมกับให้ยยาปฏิชีวนะ)
สาเหต
มีห้อนเลือด หรือเศษรกค้างอยู่ในโพรงมดลูก
ภาวะติดเชื้อภายในโพรงมดลูก
ติดเชื้อบริเวณแผลในช่องคลอด
เลือดออกจากแผลของมดลูก ภายหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องและมะเร็งไข่ปลาอุก
เศษรกค้างในโพรงมดลูกร่วมกับการติดเชื้อภายในโพรงมดลูก
การวินิจฉัย
เลือดออกทางช่องคลอด มักเกิดภายใน 3 สัปดาห์หลังคลอด
อาการอื่นๆ คล้ายกับตกเลือดหลังคลอดในระยะแรก
ผลของการตกเลือดหลังคลอด
ภาวะซีด อ่อนเพลีย สุขภาพทรุดโทรม
ภูมิต้านทานโรคต่ำ ติดเชื้อได้ง่าย
เกิด Necrosis ของต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Sheehan's syndrome)
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกายตามระบบต่างๆ
การบวมเลือดของอวัยวะสืบพันธุ์
การมีรก หรือเศษเยื่อหุ้มรกค้างในโพรงมดลูก
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
มีเลือดสดออกทางช่องคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก
ซีด ตัวเย็น ชีพจรเบาเร็ว อ่อนเพลีย ความดันโลหิตต่ำ กระสับกระส่าย
ความรุนแรงของการเสียเลือด ปริมาณ ลักษณะ สี กลิ่น
อาการติดเชื้อ
ความสามารถในการเข้าอู่ของมดลูก
การตรวจช่องทางคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จำเป็น
การแข็งตัวของเลือด
การซักประวัติ
ประวัติทางสูติศาสตร์
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน
ได้รับยาที่มีผลต่อการหดรัดตัวของมดลูก
การคลอดเร็ว
การทำสูติศาสตร์หัตถการ
ประวัติเคยมีการตกเลือดหลังคลอด
มดลูกแตกหรือการผ่าตัดมดลูก
การทำคลอดรกในขณะที่รกยังไม่ลอกตัว
ประวัติความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์
ภาวะครรภ์เป็นพิษ
ทารกตายในครรภ์
ภาวะรกเกาะต่ำ
ภาวะครรภ์แฝดน้ำ
การตั้งครรภ์แฝด
ประวัติส่วนตัว
ภาวะโลหิตจาง
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ