Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท กระดูกและกล้ามเนื้อ, นางสาวกวิสรา…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท กระดูกและกล้ามเนื้อ
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
Febrile convulsion
อาการ
ชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส เกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมงแรกที่เริ่มมีไข้ พบมากช่วงอายุ 17-24 เดือน
ชนิดของการชัก
Simple febrile seizure ชักทั้งตัว ช่วงสั้นๆไม่เกิน 15 นาที ไม่มีการชักซ้ำในการป่วยครั้งเดียวกัน หลังชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
Complex febrile seizure ชักแบบเฉพาะหรือทั้งตัว นานกว่า 15 นาที มีการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน หลังชักจะมีความผิดปกติของระบบประสาท เสี่ยงเกิดโรคลมชัก
ประเมินสภาพ
ซักประวัติ
ประเมินสภาพร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษอื่น ๆ
สาเหตุ
ติดเชื้อในระบบต่างๆ เช่น ระบทางเดินอาหาร, ทางเดินปัสสาวะ, ทางเดินหายใจ
โรคลมชัก(Epilepsy)
สาเหตุ
ติดเชื้อในระบบประสาทส่วนกลาง
ความผิดปกติของ Neurotransmission เกิดจากความผิดปกติของยีน
พยาธิสภาพภายในสมอง กลุ่ม Symtomatic epilepsy
อาการและอาการแสดง
Preictal period
อาการนำ(Seizure prodromes) มีอาการนำมาก่อนการชัก หลายนาที ชั่วโมงก่อนชัก ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าสมอง
อาการเตือน(Aura) แตกต่างกันตามตำแหน่งของสมอง เช่น อาการชา ปวด เห็นภาพหลอน
Ictal event หรือ Peri-ictal period ระยะชัก มีระยะเวลาตั้งแต่วินาที จนถึงนาที ไม่นานเกินครึ่งชั่วโมง
เกิดขึ้นทันทีทันใด
เกิดในระยะเวลาสั้น ๆ ไม่เกิน 5 นาที หยุดเอง
เกิดขึ้นเองบางครั้งมีปัจจัยกระตุ้น
เหมือนกันทุกครั้ง
Postictal period ระยะเวลาเมื่อการชักสิ้นสุดลง
Postical paralysis หรือ Todd's paralysis กล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉพาะที่
Automatism การเคลื่อนไหวร่างกายอัตโนมัติขณะชัก
Intrical period คือ ช่วงเวลาตั้งแต่หลังชักหนึ่งสิ้นสุดลงไปถึงเริ่มเกิดการชักครั้งใหม่ พบคลื่นไฟฟ้าในสมองที่ผิดปกติ
ชนิดของโรคลมชัก
Partial seizure คือ การชักที่เกิดจากความผิดปกติของคลื่นสมองเฉพาะที่ มีอาการเตือน และพบความผิดปกติของระบบประสาทเฉพาะที่หลังชัก
Complex partial seizure ไม่รู้ตัวขณะชัก
Simple partial seizure รู้ตัวขณะชัก
Generalized seizure คือ เกิดจากความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าสมองพร้อมกันทั้ง 2 ด้าน
Generalized tonic-clonic seizure หมดสติเกร็งทั้งตัวตามด้วยการกระตุกเป็นจังหวะ
Absence เหม่อ ตาลอย เกิดขึ้นและสิ้นสุดอย่างรวดเร็ว
Myoclonic กระตุกเป็นระยะเวลาสั้นๆคล้ายสะดุ้ง
Clonic กระตุกเป็นจังหวะ
Tonic กล้ามเนื้อเกร็งอย่างรุนแรง
Atonic สูญเสียความตึงตัวของกล้ามเนื้อที่เกิดขึ้นทันที
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ(Meningitis)
อาการและอาการแสดง
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย จะ มีอาการคอแข็ง พบ Kernis sign และ Brudzinski sign ให้ผลบวก รีเฟล็กไวเกิน ตรวจ Babinski ได้ผลบวก ผื่นแดงที่ผิวหนัง จุดเลือดออก
การประเมินสภาพ
Meningitis Irritation
การตรวจน้ำไขสันหลัง
ไข้กาฬหลังแอ่น(Meningococcal Meningitis)
เกิดจากการติดเชื้อ Neisseria meningitides
การเก็บและส่งตรวจ
วิธีทางชีวเคมี และวิธี PCR
วิธีตรวจหาค่า Minimum inhibition (MIC)
วิธี seminested-PCR
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ำเลือด
Meningococcemia
Acute
เกิดอย่างเฉียบพลัน ปวดศีรษะ เจ็บคอและไอ ไข้สง หนาวสั่น ปวดตามข้อ กล้ามเนื้อโดยเฉพาะที่ขาและหลัง
Chronic
ปวดและเจ็บข้ออยู่เป็นเดือนๆ ไข้จะเป็นๆหายๆ
Fulminant
ระบบไหลเวียนเลือดไม่ทำงาน อาจช็อคถึงเสียชีวิตได้
การรักษา
Glucocorticoid therapy ก่อนให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
ยาปฏิชีวนะ เช่น Ceftriaxone/PGS/Chloramphenicol
การรักษาตามอาการ
การป้องกัน
คนในบ้าน หรือคนที่อยู่ร่วมกับผู้ป่วย ต้องได้รับยาป้องกัน ได้แก่ Rifampicin หรือ Ceftriaxone หรือ Ciprofloxacin
ผู้ที่ต้องไปประกอบพิธีฮัจย์และอุมเราะห์ต้องได้รับการฉีดวัคซีนไม่น้อยกว่า 10 วัน และไม่เกิน 2 ปีก่อนออกเดินทาง
ผู้ที่ต้องเดินทางไปในประเทศที่มีโรคซุก ควรปรึกษาแพทย์เรื่องการฉีดวัคซีนป้องกันก่อนออกเดินทาง
ภาวะน้ำคั่งในกะโหลกศีรษะ
อาการแสดง
ศีรษะโตแต่กำเนิด
กระหม่อมหน้าโป่งตึง
ศีรษะโตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับทรวงอก
อาเจียนพุ่ง
Congenital Hydrocephalus ความผิดปกติในการสร้างน้ำไขสันหลัง
Obstructive Hydrocephalus ความผิดปกติในการอุดกั้นทางเดินน้ำไขสันหลัง
Communicate Hydrocephalus ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง Post meningitis
หัวบาตร
รอยต่อของกระโหลกศีรษะแยกออกจากกัน
รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง
หนังศีรษะบางมองเห็นเส้นเลือด
ปวดศีรษะ ตามัว อาเจียน
พัฒนาการช้า
การรักษา
รักษาด้วยยา
ยาขับปัสสาวะ acetazolamide
การผ่าตัด
ผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมงสูช่องในร่างกาย
โพรงสมองลงช่องท้อง(Ventriculo-peritoneal shunt)
โพรงสมองลงช่องหัวใจ (Ventriculo-atrial shunt)
โพรงสมองลงช่องปอด(Ventriculo-pleural shunt)
โพรงสมองลงช่องใต้เยื่อหุ้มสมอง(Ventriculo-cistern magna shunt)
โพรงสมองทารกลงถุงน้ำคร่ำ(Transabdominal percuteneous Ventriculo-amniotic shunt)
สายระบายน้ำในโพรงสมอง(CSF shunt)
สายระบายจากโพรงสมอง(Ventricular shunt)
วาล์ว(Valve)และส่วนที่เก็บน้ำหล่อสมอง(Reservior)
สายระบายลงช่องท้อง(Peritoneal shunt)
โรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
การำงานผิดปกติของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
การอุดตันสายระบายน้ำในโพรงสมอง
ภาวะระบายน้ำในโพรงสมองมากเกิน
โพรงสมองตีบแคบ
ภาวะเลือดออกในศีรษะ
ไตอักเสบ
การรักษา IICP
รักษาเฉพาะ : รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิด IICP
การรักษาเบื้องต้น กรณีเฉียบพลัน
จัดท่านอนศีรษะสูง 15-30 องศา
กรณีผู้ป่วยมีการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท ซึม ไม่รู้สึกตัว แพทย์จะใส่ท่อช่วยหายใจ
การให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำ
การรักษาความผิดปกติที่เกิดต่อเนื่องจากพยาธิสภาพเดิมหรือที่เกิดร่วม
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการ
มีก้อนที่หลังหรืหน้าผาก ขาอ่อนแรงทั้งสองข้าง ปัสสาวะ อุจจาระตลอดเวลา
ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง มีประวัติไม่ได้รับวัคซีน ไม่มีประวัติคลอดในโรงพยาบาล เป็นชนต่างด้าว นึกถึง Poliomyelitis
Spinal bifida
ความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง มีถุงยื่นออกมาจากตรงตำแหน่งที่บกพร่อง มี Hydrocephalus เกิดร่วมร้อยละ 80-90
ชนิด
Spina bifida occulta เกิดบริเวณ L5 หรือ S1
Spinal bifida cystica ความผิดปกติที่ส่วนโค้งของกระดูกสันหลังมีการยื่นของกระดูกสันหลัง
Meningocele ก้อนหรือถุงประกบด้วยเยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลัง ไม่มีเนื้อเยื่อประสาทไขสันหลัง
Myelomeningocele หรือ Meningomyelocele มีก้อนยื่นออกมา มีเยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลังและไขสันหลัง พบบ่อยอันตรายและเกิดความพิการ การหดรัดของข้อ สมองบวมน้ำ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
มารดาไม่ได้รับโฟลิคขณะตั้งครรภ์
การตรวจร่างกาย
แขนขาอ่อนแรง
การตรวจพิเศษ
ตรวจระดับ Alpha fetoprotein
ใช้ไฟฉายส่องบริเวณก้อนหรือถุง จะโปร่งใสมีไขสันหลังอยู่
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
Cerebral palsy
กล้ามเนื้อกดเกร็ง(Splastic)
Splastic quadriplegian ความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนขาทั้งสองข้าง
Splastic diplegia ความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2 ข้าง ขาเป็นมากกว่าแขน
Splastic hemiplegia ผิดปกติที่แขนขาซีกใดซีกหนึ่ง
Extrapyramidol cerebral palsy(athetoidsis) กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
Ataxia cerebral palsy เดินเซ ล้มง่าย ทรงตัวไม่ดี สติปัญญาปกติ
Mixed type หลายอย่างร่วมกัน
อาการแสดง
เจริญโตและพัฒนาการช้า
ปัญญาอ่อน
อาการอื่น ๆร่วม เช่น ชัก หูหนวก ตาบอด มีปัญหาด้านการพูด
ประเมินสภาพ
ซักประวัติ
ประเมินร่างกาย
การพยาบาลเด็กที่ไม่รู้สึกตัว
ระบบหายใจ
การทำให้ทางเดินหายใจโล่ง
จัดท่านอนให้เหมาะสม
ดูแลไม่ให้มีอาหารหรือเศษอาหารอยู่ในปาก
ดูดเสมหะเป็นระยะๆ
แรงดันในสมองต้องไม่เพิ่มขึ้น
ท่านอนศีรษะสูง 15-30 องศา
หลีกเลี่ยงท่านอนหรือกิจกรรมที่ทำให้แรงดันในสมองเด็กเพิ่มขึ้น
จัดท่านอนข้อสะโพกไม่เกิน 90 องศา
ป้องกันไม่ให้ท้องผูก
รบกวนเด็กให้น้อยที่สุด
ได้รับการดูแลขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพ
ด้านอาหาร
ด้านการขับถ่าย
ด้านความสะอาด
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการไม่สามารถเคลื่อนไหวได้
ภาวะแทรกซ้อนระบบหายใจ
พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง ยกเว้นในเด็กที่มีความดันในสมองสูง
ดูแลไม่ให้ผู้ที่มีการติดเชื้อทางระบบหายใจเข้าไปใกล้เด็ก
ล้างมือให้สะอาดก่อน/หลัง สัมผัสเด็ก
ภาวะแทรกซ้อนเกี่ยวกับตา
สังเกตและประเมินอาการที่บ่งชี้ว่ามีการระคายเคืองหรือการอักเสบของตา
ต้องใช้ Eye pad เพื่อไม่ให้ตาแห้ง
ถ้าตาแห้ง อาจต้องใช้น้ำตาเทียม (artificial tears) หยอด
ภาวะแทรกซ้อนทางผิวหนัง
ประเมินผิวหนังเป็นระยะๆ
หมั่นเปลี่ยนท่านอน พลิกตะแคงตัวบ่อย ๆ
ดูแลผิวหนังให้สะอาดชุ่มชื้นตลอดเวลา
ควรทาครีมบำรุงผิวหนัง
ดูแลบริเวณอวัยวะเพศภายนอก ฝีเย็บ และทวารหนักให้สะอาด
ครอบครัวผู้ป่วยเด็กได้รับความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับความเจ็บป่วย
ประเมินความต้องการ
รับฟังปัญหาของครอบครัวอย่างตั้งใจ
ตอบคำถามที่ครอบครัวต้องการทราบ
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งความช่วยเหลือที่ครอบครัวต้องการ
ให้กำลังใจและประคับประคองด้านจิตใจแก่ครอบครัว
แนะนำเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
รับประทานอาหารครบ 5 หมู่
ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้ป่วย
พักผ่อนให้เพียงพอ
สุขวิทยาทั่วไป ระบบขับถ่าย ระวังท้องผูก
มาตรวจสุขภาพตามนัดทุกครั้ง หากมีความผิดปกติมาก่อนนัด
แพทย์สั่งเจาะเลือดหาระดับกันชัก แนะนำงดยามื้อเช้ามาก่อนเจาะเลือด
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากล้ามเนื้อและกระดูก
โรคกระดูกอ่อน(Ricket)
ความหมาย
โรคที่มีความบกพร่องในการจับเกาะเกลือแร่บนเนื้อกระดูกอ่อน
การรักษา
แบบประคับประครอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้ Vit D
การป้องกัน
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดอ่อนๆ
รับประทานอาหาร เน้นโปรตีนและแคลเซียม
ให้ Vit D 200 หน่วยต่อวันต่อน้ำหนักตัวสำหรับเด็กคลอดก่อนกำหนด
ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างกระดูก
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมของแคลเซียม เช่น ยากันชัก ยาลดกรด ฯลฯ
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ vit D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้
โรคไตบางชนิดที่ทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต
ภาวะฟอสเฟตต่ำ (Hypophosphatasia) จากขาด Alkaline phosphatase
อาการและอาการแสดง
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง ขวบปีแรกจะมี กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า หลังหนึ่งขวบจะพบขาโก่ง ขาฉิ่ง กระดูกสันหลังคดหรือค่อม ท่าเิดนคล้ายเป็ด อาจเกิดกระดูกหักได้
พบมากในเด็กอายุ 6 เดือน - 3 ปี
Bone and Joint infection
การติดเชื้อในกระดูก(Osteomyelitis)และข้อ(septic arthitis)
Osteomyelitis
การวินิจฉัย
ประวัติ
แสดงออกโดยไม่ใช้แขนขาส่วนนั้น ทารกนอนนิ่งไม่ขยับแขนขาข้างที่เป็น (psuedoparalysis)
การตรวจร่างกาย
มีความผิดปกติบริเวณที่มีพยาธิสภาพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC พบ Luecocytosis
ESR, CRP สูง
ผล Gram stain และ culture พบเชื้อ
การตรวจรังสี
Pain film พบเนื้อเยื่อส่วนลึกบวม
Bone scan ได้ผลบวก บอกตำแหน่ง
MRI พบ soft tissue abcess, Bone marrow edema
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย,เชื้อรา จากภายนอกเข้าสู่กระดูก การแพร่กระจายจากกระแสเลือด
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
ภาวะแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อ physis ทำลาย physeal plate ทำให้กระดูกสั้น
มีการโก่งผิดรูป
ข้ออักเสบติดเชื้อ(septic arthitis)
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ ส่วนใหญ่เป็นเชื้อแบคทีเรีย
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลีนิค
มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อ
ผล Lab
เจาะดูดน้ำในข้อ (Joint aspiration) มาย้อม Gram stain
ผล CBC พบ ESR, CRP สูงขึ้นเล็กน้อย
การตรวจทางรังสี
Pain film พบช่องว่างระหว่างข้อ
Ultrasound บอกถึงภาวะมีน้ำในข้อมาก หรือเลื่อนหลุด
Bone scan/MRI บอกถึงการติดเชื้อที่กระดูก
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด ได้แก่ Arthromy and drainage เพื่อระบายหนอง และเพื่อได้หนองและชิ้นเนื้อส่งตรวจ
ภาวะแทรกซ้อน
Growth plate ถูกทำลาย
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
ข้อถูกทำลาย(joint destruction)
หัวกระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือด (avascular necrosis)
การวินิจฉัย
ต้องมีอาการ 5-6 อาการ ดังนี้
อุณหภูมิร่างกาย >38.3 c
มีอาการปวดข้อ
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
ข้อบวม
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่นๆร่วม
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosisg เข้าสู่ปอด เจริญผ่านทาง Lympho-hematogenous spread ยังอวัยวะต่างๆ
อาการและอาการแสดง
อาการแสดงหลังติดเชื้อ 1-3 ปี เริ่มที่ metaphysis ของ long bone กระดูกจะบางลงแตกเป็นโพรงหนองไม่มีการอักเสบ เชื้อจะเข้าทางต่อมน้ำเหลืองไปในระบบไหลเวียนเลือด เชื้อจะทำลายกระดูกสันหลัง
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลีนิค
อ่อนเพลีบ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีไข้ตอนบ่ายหรือเย็น ปวดข้ออาการขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่เป็น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC พบ WBC ปกติ/สูง
CRP, ESR สูง
ทดสอบ tuberculin test ผล บวก
การตรวจทางรังสี
Plaint film
MRI
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด
อาการแทรกซ้อนทางกระดูกและข้อ
กระดูกสันหลังค่อม หรืออาการกดประสาทไขสันหลัง จนอ่อนแรง/เป็นอัมพาต (Pott's paraplegia) ปวดข้อ ผิวข้อ ขรุขระ ข้อเสื่อม ข้อยึดติด พิการ
เท้าปุก(Club foot)
พยาธิสภาพ
เริ่มตั้งแต่ระยะสร้างกระดูกเท้า กลไกการสร้าง Catilage anlage ผิดปกติ (Primary germ plasm defect)
สาเหตุ
อาจเกิดจาก Gene แลปัจจัยส่งเสริม เช่น แม่สูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์, การติดเชื้อในครรภ์ พบในเพศ ชาย>หญิง 2.5:1
Positional clubfoot
Uterus impaction affect
Teratologoc clubfoot
พบใน syndrome
neuromuscular clubfoot
พบได้จาก Cerebral palsy, myelomeingocele, neurological injury, other neuromuscular disease
Ideopatic Talipess Equino Varus (ITCEV) พบแต่กำเนิด
การวินิจฉัย
เท้าจิกลง บิดเอียงเข้าด้านใน
Positional clubfoot
ขนาดเท้าใกล้เคียงเท้าปกติ บิดผิดรูปไม่มากนัก เมื่อเขี่ยด้านข้างของเท้าสามารถกระดกเท้าได้ปกติ
idiopatic clubfoot
ไม่สามารถหายเองได้ ต้องได้รับการรักษา
การรักษา
การดัดและใส่เฝือก
การผ่าตัด
ผ่าตัดเนื้อเยื่อ
ผ่าตัดกระดูก
การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก
มะเร็งกระดูก(Osteosarcoma)
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้ำหนักลด
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่เป็นผิดปกติ รับน้ำหนักไม่ได้ มักมีประวัติการเกิดอุบัติเหตุ
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้น ๆ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ระยะเวลาการมีก้อนเนื้องอก
อาการปวด
การเคลื่อนไหว
การตรวจร่างกาย
น้ำหนัก
ตำแหน่งของก้อน
การเคลื่อนไหวต่อมน้ำเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
MRI
CT
Alkaline phosphase (ALP) สูง
แลคเตสดีไฮโดรจิเนส(LDH) สูง
การรักษา
การผ่าตัด
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
Cerebral palsy
สาเหตุ
ก่อนคลอด
การติดเชื้อ
มารดาเป็นโรคแทรกซ้อน ได้แก่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับมารดาขณะตั้งครรภ์
ระหว่างคลอด
คลอดยาก,สมองกระทบกระเทือน, ขาดออกซิเจน, ทารกคลอดก่อนกำหนด
ลักษณะการเคลื่อนไหว
Spastic CP แข็งทื่อ
Hemiplegia คือมี spasticity ของแขนและขาและข้างใดข้างหนึ่ง ส่วนอีกข้างหนึ่งปกติ
Double hemiplegia มี hemiplegia ทั้ง 2 ด้าน แต่ความรุนแรงไม่เท่ากัน
Quadriplegia หรือ Body involvement ของแขนขาทั้งสองข้างเท่ากัน พวกนี้มักมี neck หรือ cranial nerve involvement ปัจจุบันจึงเรียก total body involvement มากกว่า quadriplegia
Diplegia คือ involved มากเฉพาะขาทั้ง 2 ข้าง แขนสองข้าง gross movement เกือบปกติ มีเฉพาะส่วนของ fine movement เท่านั้น ที่ถูก involved
อื่น ๆ เช่น monoplegia, paraplegia, triplegia พบน้อยมากโดยเฉพาะ paraplegia
การรักษา
ป้องกันความผิดรูปของข้อต่าง ๆ
กายภาพบำบัด
อรรถบำบัด
ลดความเกร็ง
ยากิน กลุ่ม diazepam
ยาฉีด เฉพาะที่ นิยม กลุ่มBotox
การผ่าตัด
ผ่าตัดลดความตึงของกล้ามเนื้อ
การย้ายเอ็น
การผ่าตัดกระดูก
การให้การดูแลรวมถึงการให้กำลังใจ
การรักษาด้านอื่น ๆ
ผ่าตัดแก้ไขตาเหล่
การใช้เครื่องช่วยฟัง
ใช้ยาควบคุมการชัก
Ataxic CP กล้ามเนื้อยืดหดตัวย่างไม่เป็นระบบ
Athetoid CP กล้ามเนื้อไม่ประสานกัน เดินโซเซ
Mixed CP ผสมผสานกันทั้ง 3 ลักษณะ
ความพิการทางสมอง ซึ่งมีการเคลื่อนไหวร่างกายที่ผิดปกติ
Omphalocele
ผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ ประกอบด้วยเยื่อบช่องท้อง Penitoeal และเยื่อ Amnion ประกอบกันเป็นผนังปิดหน้าท้องคล้ายถุง
ลักษณะทางคลีนิค
Ultrasound ตรวจในครรภ์มารดาสามารถวินิจฉัยภาวะ Omephalocele ได้
การรักษา
Conservative เป็นการใช้สารละลายฆ่าเชื้อ (Antiseptic solution)
Operative เหมาะสำหรับรายที่มี Omphalocele มีขนาดใหญ่หรือใหญ่มาก
การผ่าตัด
เย็บผนังหน้าท้องปิดเลย(primary fascial closure)
มักทำเมื่อ Omphalocele มีขนาดเล็ก และมีอวัยวะอยู่ภายในไม่มาก
ปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน(staged repair)
ฝ่าเท้าแบน
อาการ
อาการขึ้นกับความรุนแรงของความแบนราบ
ผู้ป่วยอาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าที่หนาผิดปกติ
รองเท้าผู้ป่วยจะรู้สึกเร็ว
ปวดฝ่าเท้า
รายที่แบนรุนแรงผู้ป่วยจะมีอาการปวดน่อง เข่า และปวดสะโพก
สาเหตุ
พันธุกรรม
การเดินที่ผิดปกติ เช่นการเดินที่เท้าบิดเข้าด้านใน
เอ็นของข้อเท้าฉีกขาด
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
ใส่รองเท้าที่มีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ Ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
Gastroschisis
การมีผนังหน้าท้องแยกจากกัน
การวินิจฉัย
เมื่อคลอดจะเห็นถุงสีขาวขุ่นบาง มองเห็นลำไส้หรือตับผ่านหนังถุง ถุงบรรจุ wharton's jelly สายสะดือติดอยู่กับตัวถุง พบ 4-10 ซม.
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
เช็ดทำความสะอาด ลำไส้ส่วนที่สกปรก ป้งกันการติดเชื้อ
หลังผ่าตัด
ดูเรื่อง Respiratory distress
Hypothermia
Hypoglycemia, Hypocalcemia
นางสาวกวิสรา อนันตวงศ์ เลขที่ 3 ห้อง A รหัสนักศึกษา 613601003