Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลกระดูกหักในเด็ก
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
Volkman's ischemic contracture คือลักษณะรูปร่างของนิว มือ และแขนใน ผิดปกติ สาเหตุจาก กล้ามเนือ บริเวณ forearm ขาดเลือดไปเลี้ยงหรือมีน้อย
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อ บวม ตึง แข็ง และมีสีคลำ ข้อมือและข้อนิ้วแข็ง เนืองจากไม่ได้ทํางานและจากการหดตัวของเยื่อบุข้อ
-
ระยะเริ่มเป็น บวม เห็นได้ชัดทีนิ้ว เจ็บและปวด นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้ ชา ชีพจรคลําไม่ได้ชัด หรือไม่ได้
-
โรคคอเอียงแต่กำเนิด
-
-
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อคอที่หดสั้น
-
-
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch) จัดท่านอนหงายจัดให้หูข้างตรงข้ามกับกล้ามเนื้อหดสั้นสัมผัสกับไหล่ข้างเดียวกัน
-
-
-
กระดูกสันหลังคด
-
-
อาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน สะบักไม่อยู่ระดับเดียวกันคือไหล่ข้างหนึ่งสูงกว่าอีกข้าง
-
-
การรักษา
แบบอนุรักษ์นิยม
กายภาพบำบัด ,บริหารร่างกาย
-
กระดูกหัก
ส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง หรือมีเพียงบางส่วนติดกันหรือเป็นเพียงแตกร้าว
ข้อเคลื่อน
การเคลื่อนของผิวข้อหลุดออกจากเบ้า ส่งผลให้เนื้อเยื่อที่อยู่โดยรอบกระดูก หลอดเลือด น้้าเหลือง เส้นประสาทและเส้นเอ็นได้รับอันตรายด้วย
ลักษณะ
-
-
-
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน (ischemic changes) จากการใส่เฝือกหรือพันผ้าแน่น อาจเกิด ภาวะ Volk man’s ischemic contracture
แผ่นเติบโต (growth Plate) มีความอ่อนแอ กว่าเอ็น (tendon),เอ็นหุ้มข้อ (ligament)และเยื่อหุ้มข้อ (joint capsule)เมื่อมีการแตกหักจะหักบริเวณนี้มากกว่า
-
-
-
-
-
กระดูกหักที่พบบ่อย
-
-
-
กระดูกปลายแขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่น เกิดจากการกระทำทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
-
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส (Transient subluxation of radial head , pulled elbow )
-
-
-