Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหัก
หมายถึง ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยก ออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง หรือมีเพียงบางส่วนติดกัน หรือเป็นเพียงแตกร้าว
ข้อเคลื่อน
หมายถึง ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่ หรือหลุดออกจากเบ้า ส่งผลให้เนื้อเยื่อที่อยู่โดยรอบกระดูก หลอดเลือด น้้าเหลือง เส้นประสาทและ เส้นเอ็นได้รับอันตรายด้วย
ความแตกต่างระหว่างกระดูกของเด็กและผู้ใหญ่
Growth plate อ่อนแอกว่าtendon,ligament และjoint capsule เมื่อมีการแตกหักจะหักบริเวณนี้มากกว่า
เยื่อหุ้มกระดูก (periosteum) มีความแข็งแรงและสามารถสร้างกระดูกได้ดี จึงติดเร็ว
เยื่อบุโพรงกระดูก(endosteum) สามารถสร้างกระดูกได้มากและเร็ว เด็ก อายุยิ่งน้อยกระดูกยิ่งติดเร็ว
4.การวินิจฉัยกระดูกหักในเด็กการตรวจร่างกายอาจไม่แน่ชัด หรือเชื่อถือได้อยาก
5.การบวมของแขน ขาในเด็กจะเกิดขึ้นเร็วภายหลังมีกระดูกหักหรือ ข้อเคลื่อน แต่หายเร็ว
6.การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียนบริเวณแขน ขา จากการใส่เฝือกหรือพันผ้าแน่น อาจเกิด ภาวะ Volk man’s ischemic contracture
7.การเจริญเติบโตของเด็กเล็กเริ่มจากการทดแทนกระดูกอ่อ ต่อมาจะมีการทดแทนกระดูกอ่อนที่ส่วนปลายกระดูกท้าให้กระดูกงอกตามยาว
สาเหตุของกระดูกหัก
มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุ มีแรงกระแทกกระดูกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชน ตกที่สูง หรือทางอ้อม เช่น หกล้ม เอามือยันพื้นกระดูกฝ่ามือไม่แตกกลับไปแตกบริเวณเหนือข้อมือ
อาการและอาการแสดง
1.ปวดกดเจ็บ บริเวณที่มีพยาธิสภาพ
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
3.รอยจ้้ำเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
4.ผิดรูป
การผ่าตัดกระดูกหักและข้อเคลื่อนในเด็ก
กระดูกหักจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ(avulsion fracture)
กระดูกคอฟีเมอร์หักและเคลื่อน(displaced fracture neck of femur)
กระดูกหักในเด็กตามการแบ่งของ Salter ชนดิ Ш , ІV
ข้อเคลื่อนที่มีชั้นกระดูกติดอยู่ในข้อ
กระดูกหักผ่านข้อ (displaceed intra articular fracture)
กระดูกมีแผลเปิด (open fracture)
ข้อเคลื่อนที่ต้องผ่าตัด ซึ่งมักเป็นเวลานานกว่า 2 สัปดาห์ หรือมีเนื้อเยื่อขวางกั้น
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย ตรวจเหมือนเด็กทั่วไป และให้ความสนใจต่อส่วนที่ได้รับภยันตรายให้มาก ทำด้วยความนุ่มนวล
ลักษณะของกระดูกหัก สังเกตลักษณะภายนอกว่าเป็นชนิดที่มีบาดแผลหรือไม่มีบาดแผลมีกระดูกโผล่มาหรือไม่
ลักษณะของข้อเคลื่อน มี 2 ลักษณะ คือ ลักษณะที่ข้อเคลื่อนออก จากกนัโดยตลอด และข้อที่เคลื่อนออกจากกนัเพยีงเลก็น้อย โดยที่ ยังมีบางส่วนสัมผัสกันอยู่
การตรวจพบทางรังสี มีความจ้าเป็นในการถ่ายภาพให้ถูกต้อง เป็นแนวทางในการรักษาและติดตามผลการรักษา
การซักประวัติ เกี่ยวกับเรื่องการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
การพยาบาล
เพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
เข้าเฝือกปูน
ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือกภายใน 24 ชั่วโมง ซึ่งประเมินได้จาก 5 PS หรือ 6P
Pulselessness ชีพจรเบา,เย็น
Pallorปลายมือปลายเท้าซีด หรือเขียวคล้้า
Paresthesia ชา ขาดความรู้สึก
Paralysis เส้นประสาทถูกกด เคลื่อนไหวไม่ได้
Pain มีอาการเจ็บมากกว่าเดิม
Puffiness or Swelling มีอาการบวมมากขึ้น
การจัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ระมัดระวังไม่ให้เฝือกเปียกน้้า
แนะน้าเด็กและญาติ ในการดูแลเฝือก
การยกหรือเคลื่อนย้ายเด็ก ต้องระวังเฝือกหัก
การดึงกระดูก (Traction)
มีประสิทธิภาพตลอด - แรงดึงสมดุลเพียงพอกับน้ำหนักผู้ป่วย 1/5 ปอนด์ ต่อน้ำหนัก 1 กก. - ถ่วงแขวนลอยอิสระไม่แตะพื้นหรือข้างเตียงขณะดึงกระดูกควรจัดท่านอนของเด็กให้ถูกต้องตามชนิดของ Traction
ใช้ผ้าตรึงตัวเด็กให้ถูกกับ position ของ traction นั้นๆ - สังเกตการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย - รายที่ทำSkeletal Traction ต้องสังเกตอาการติดเชื้อบริเวณที่เหล็กดึงกระดูก
ชนิดของ Traction
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper limb ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน เป็นการเข้า traction ในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศา กับล้าตัว ในรายที่ผู้ป่วย แขนหักแล้วมีอาการบวมมากยังไม่สามารถ reduce และ ใส่เฝือกได้
Dunlop’s traction ใช้กับเด็กในรายที่มี Displaced Supracondylar Fracture ที่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่ ( reduce ) ได้ หรือในรายที่มี อาการบวมมาก บางกรณีใช้เพียงเพื่อดึงให้ยุบบวมแล้วจึง reduce ใหม่
Bryant’s traction ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก ( fracture shaft of femur ) ตั้งแต่แรกเกิด จนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบ หรือน้ าหนัก ไม่เกิน 13 กิโลกรัม
ชนิดของ
Skin traction ใช้ในรายที่มี facture shaft of femur ในเด็กโต อายุมากกว่า 3 ขวบขึ้นไป traction แบบนี้อาจเกิดปัญหาการกด peroneal nerve ท้าให้เกิด foot drop ได้
Russell’s traction ใช้ในเด็กโตที่มี Fracture shaft of femur หรือ fracture บริเวณ supracondyla region of femur การท้า traction ชนิดนี้อาจเกิดปัญหาการผ้า sling ที่คล้องใต้ขาไปกด เส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณใต้เข่าได
ผ่าตัดทำ open reduction internal fixation (ORIF)
เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว้ อาจใช้ plate , screw, nail หรือ wire แพทย์จะพิจารณาท้าในรายที่กระดูกหักมาก เกิดอันตรายต่ออวัยวะโดยรอบ
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ โดยการสังเกต คลำดูความสัมพันธ์ของอวัยวะ การเคลื่อนไหวของข้อต่าง ๆยกขึ้น งอหรือเหยียด ตรวจสอบความตึงตัว อาการเกร็งของ กล้ามเนื้อ
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
เตรียมผิวหนังเฉพาะที่ ดูแลความสะอาดของร่างกาย ตรวจวัดสัญญาณชีพ /ประเมินอาการของระบบประสาท และหลอดเลือดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ/ ยา /เอกสารใบเซ็นยินยอม /ผล Lab / ผล X-ray
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ประเมินระดับความรู้สึกตัว ระดับความเจ็บปวด ปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด
เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจาก การถูกจำกัดเคลื่อนไหว
ลดอาการท้องผูกด้วยการกระตุ้นให้เด็กมีการเคลื่อนไหว จัดอาหารที่มีกากมาก ดื่มน้ำให้เพียงพอ
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงการเกิด ภาวะแทรกซ้อน
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ ด้วยการเปลี่ยนท่าที่เหมาะสมให้เด็กอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
ช่วยให้ปอดขยายตัวเต็มที่ด้วยการกระตุ้นให้เด็ก หายใจเข้าออกลึกๆแรงๆหลายๆครั้ง
ป้องกันและลดอาการข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบ กระตุ้นให้เด็กมีการออกก าลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
เพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูกเนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อ
ทำความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือกที่ด้วยการชะล้างสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในบาดแผลออกให้หมด
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
เพื่อบรรเทาปวด
ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือskin traction พันแน่นเกินไปหรือไม่
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ
จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
ประเมินระดับอาการปวดของผู้ป่วย
เพื่อลดความเครียดวิตกกังวลเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกที่ดีแก่เด็กและญาติที่มีต่อการรักษาพยาบาลและตัวบุคลากร
จัดกิจจกรรมหรือเปิดโอกาสให้เด็กและญาติให้มีการระบายออก
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจของเด็กและญาติ
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
เพื่อให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
ระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำหรือสกปรก ห้ามแกะเกา สังเกตความผิดปกติและ รับประทานอาหารช่วยให้แผลหายเร็ว
การรักษา
หลักการรักษา
เป้าหมายการรักษา
ระยะแรกจะมุ่งลดความเจ็บปวด โดยให้ยาลดปวด จัดให้กระดูกอยู่นิ่งๆ โดยใช้เฝือกดาม ไม้ดาม หรือผ้าพันยืด และ พยายามจัดกระดูกให้เข้าที่
จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูกให้มีแนวกระดูก (alignment) ที่ยอมรับได้จนกระดูกที่หักติดดี
ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
ให้อวัยวะนั้นกลับทำงานได้เร็วที่สุด
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับกระดูกหักนั้นๆ
ระวังไม่ให้ได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
จุดประสงค์
save life before safe limb and save limb before save function
กระดูกหักที่พบบ่อย
. กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
อาการ
• Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก • Crepitus คลำได้เสียงกรอบแกรบ • ปวด บวม ข้างที่เป็น • เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
ทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับลำตัว นาน 10-14 วัน ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก
อายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ ข้อศอกงอ 90 องศา และพันแขนให้ติดกับลำตัวด้วยผ้ายื คล้องแขนไว้นานประมาณ 2-3 wks
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
เด็กโต อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอก กระแทกพื้นโดยตรง พบหัวไหล่บวม ช้้า เวลาจับไหล่ หรือแขนให้มีการเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด อาจให้ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้ นานประมาณ 2 - 3 wks รายที่กระดูกหักเคลื่อนออกจากกันมากๆตรึงแขนด้วย traction ประมาณ 3 wks อาจท้า skin traction หรือ skeletal traction ก็ได้
ทารกแรกเกิด มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ทำคลอด สอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
พบบ่อยในเด็กเพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย หกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกงอ เด็กจะปวดบวมมาก
โรคแทรกซ้อน “ Volkman’s ischemic contracture ”
รายที่หักแบบ greenstick อาจใส่เฝือกแบบ posterior plaster splint ประมาณ 1wkเมื่อยุบบวม จึงเปลี่ยนเฝือกพันต่ออีก 2-3 สัปดาห์
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส ( Transient subluxation of radial head , pulled elbow )
พบบ่อยในเด็ก< 6 ปี เกิดจากการหยอกล้อ แล้วดึงแขนหรือหิ้วแขนเด็กขึ้นมาตรงๆในขณะที่ข้อศอกเหยียดและแขนท่อนปลายคว่ำมือ
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
ถ้ากระดูกเคลื่อนออกจากกันมากๆ ให้รักษาด้วยวิธี Gallow’s , Bryant’s traction ถ้าอายุมากกว่า 3 ปี แก้ไขโดยทำRussel’s traction
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
สาเหตุ เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด ได้แก่ การคลอดท่าก้น ภาวะคลอด ติดไหล่ เด็กมีน้้าหนักมากและการคลอดที่ใช้เวลานาน
การวินิจฉัย สังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่ิิอนไหวได้น้อยก
การรักษา ส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทไม่จำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
Volkmann’ s ischemic contracture
สาเหตุ
ปลายกระดูกหักชิ้นบน เช่นในรายที่มีการเคลื่อนของกระดูกมาก
เลือดแข็งจับกันเป็นก้อน
งอพับข้อศอกมากเกินไป ในขณะที่บริเวณนั้นยังบวมอยู่
จากการเข้าเฝือก เฝือกที่เข้าไว้ในระหว่างที่การบวมยังดำเนินอยู่เมื่อเกิด อาการบวมขึ้นขึ้นเต็มที่
แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะเริ่มเป็น
บวม เห็นชัดที่นิ้ว ปวด นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้ นิ้วแข็ง นิ้วขาวซีด หรืออาจจะคล้ำ แต่นิ้วยังคงอุ่นอยู่ ชา คลำชีพจรได้ไม่ชัดหรือไม่ได้
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
บวม ตึง แขง็ และมีสีคล้ำเนื่องจากมีเลือดปะปนอยู่
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
เกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อ Pronator และ flexor ของแขน มือ และนิ้ว ทำให้มือและนิ้วหงิกงอใช้การไม่ได้
การป้องกัน
อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือก
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพัน ดัวยผาพันธรรมดา
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุด
แนะนำการปฎิบัติตัวหลังเข้าเฝือก
ยกบริเวณที่ใส่เฝือกให้อยู่สูงกว่าระดับหัวใจ ถ้ามีอาการปวดบวมชาให้บอกแพทย์
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ
มักคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อย ๆ ยุบลงไป การปล่อยให้มีภาวะคอเอียงอยู่นานจะส่งผลให้กะโหลก ศีรษะ ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศีรษะบิดเบี้ยว ไม่สมดุล
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น ได้ผลดีในเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี
การใช้อุปกรณ์พยงุ (orthosis) ปรับตำแหน่งศีรษะ
การยืดแบบให้เดก็หันศีรษะเอง (active streth)
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
ผ่าตัด
bipolar release ตัดปลายเอ็นยึดเกาะของกล้ามเนื้อด้าน คอทั้งสองปลาย
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
อาการและอาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน สะบักไม่อยู่ระดับเดียวกันคือไหล่ข้างหนึ่งสูงกว่าอีกข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด มักหายใจตื้น
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลำตัว ความจุในทรวงอก สองข้างไม่สมมาตรไม่เท่ากัน
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออก จะฝ่อลีบและบาง
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
มีอาการปวดเมื่อหลังคดมากในเด็กอาจพบไม่บ่อย
เริ่มมีอาการเมื่ออายุน้อยยิ่งมีความพิการมาก กระดูกสันหลัง ส่วนเอวคดมีพยากรณ์โรคดีกว่ากระดูกสันหลังคด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : การผ่าตัด ความพิการของกระดูกสันหลัง, การตรวจร่างกาย : สังเกตความพิการ ส่วนสูง น้ำหนักตัว แนวลำตัว ,การตรวจทางหอ้งปฏิบัติการพิเศษอื่น ๆ : X-Ray
พยาธิสภาพ
การเจริญผิดปกติของกระดูกสันหลัง การอัมพาตของกล้ามเนื้อทำให้กระดูกเจริญเติบโตน้อย ไม่เท่ากันทั้งสองข้าง ท้าให้ข้อคดงอ ขา ยาวไม่เท่ากัน ทำให้ตัวเอียงและหลังคด กล้ามเนื้อหลังและหน้าท้อง ไม่สมดุลกันทั้งสองข้าง
การรักษา
อนุรักษ์นิยม - กายภาพบำบัด บริหารร่างกาย
ผ่าตัด - รักษาสมดุลของลำตัว แก้ไขแนวตรงของร่างกาย รักษาระดับไหล่และสะโพก
การพยาบาล
ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง โดย สังเกต และประเมินความปวด
แนะนำการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
แนะน าให้รายงานอาการผิดปกติต่างๆที่อาจเกิดหลังผ่าตัด เช่น อาการ ปวด ชา สูญเสียความรู้สึก เป็นต้น
สอนและสาธิตวิธีการไอ หายใจอย่างมีประสิทธิภาพ การออกกำลังแขน ขาและหลัง
อธิบายวิธีการพลิกตัวหลังผ่าตัดโดยให้ไหล่และสะโพกพลิกไปพร้อมกัน (Logrolling) พร้อมสาธิตวิธีการเปลี่ยนท่านอน
แนะนำการใช้หม้อนอน การรับประทานและดื่มบนเตียง การลุกออกจาก เตียงและเข้าเตียงโดยให้หลังตรงใช้ท่าตะแคงหรือนอนคว่ำ
บอกผู้ป่วยต้องนอนในหออภิบาลหลังผ่าตัด เพราะต้องดูแลอย่างใกล้ชิด หลังผ่าตัดใหญ่
บอกผู้ป่วยให้ทราบวิธีการเตรียมความสะอาดร่างกายทั่วไป การโกนขน บริเวณผ่าตัด การงดอาหารและน้ำหลังเที่ยงคืน การสวนอุจจาระเช้าวันผ่าตัด
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค การรักษาและการปฏิบัติตนโดยใช้คู่มือ วีดิทัศน์ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและความคุ้นเคย
บอกผู้ป่วยให้ทราบหลังผ่าตัดมีสายน้ำเกลือ สายระบายจากแผลผ่าตัด แผลผ่าตัดจะมี 2 แห่งที่หลังและบริเวณ Iliac Crease
ให้ผู้ป่วยคุ้นเคยกับเฝือกปูนและการดึงถ่วงน้ำหนัก โดยใช้ตุ๊กตาเป็นแบบ สำหรับผู้ป่วยเด็กเล็ก
อธิบายให้ทราบว่าหลังผ่าตัดต้องนอนบนเตียงประมาณ 2 สัปดาห์ หลังจากนั้นแพทย์จะใส่เฝือกและให้เดินได้
ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแผลกดทับ โดยประเมินผิวหนังทั่วไปและ บริเวณผ่าตัดว่ามีอาการบวม แดง ชา น้ำเหลืองซึม แผลเปิดหรือไม่, ให้ยา ปฏิชีวนะและยาลดไข้ตามแผนการรักษา และสังเกตอาการข้างเคียงของยา
แนะนำการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว คือ ใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว โดยมีเสื้อรองก่อนเพื่อป้องกันการกดทับผิวหนัง แนะน าการปรับภาพลักษณ์เมื่อ ใส่เฝือกหรือเสื้อดัดตัว เช่น ใส่เสื้อผ้าน่ามองมีสไตล์ ปรับทรงผมและการ แต่งหน้าให้น่าดู